การพัฒนาทักษะการเขียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองลำตะคอง 1 จังหวัดนครราชสีมา
คำสำคัญ:
ชุดฝึกทักษะการเขียน, การเขียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การเขียนบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญ เพราะจะใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงและเป็นหลักฐานที่ทำให้ข้อมูลน่าเชื่อถือ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะการเขียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองลำตะคอง1 จังหวัดนครราชสีมาและศึกษาผลการใช้ชุดฝึก กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจงจากนักเรียน ปีการศึกษา2561 จำนวน 22 คน ผลการศึกษาพบว่าชุดฝึกทักษะการเขียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น มีผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณามีค่ามากกว่า 0.50 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ นักเรียนทุกคนที่ได้รับการฝึกด้วยชุดฝึกทักษะการเขียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์สามารถเขียนรายงานปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ผ่านตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด หลังจากใช้ชุดฝึกทักษะการเขียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ พบว่านักเรียนสามารถตอบแบบประเมินความรู้ความเข้าใจได้ผ่านทุกคนและนักเรียนมีความพึงพอใจมากต่อชุดฝึกทักษะการเขียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
References
จันทร์จิรา พีระวงศ์. (2553). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชรินทร์ เนืองศรี . (2551). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการเขียนร้อยกรอง“กาพย์ยานี 11” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ถวัลย์ มาศจรัส. (2545). สารคดีและการเขียนสารคดี. กรุงเทพฯ: 21 จูรี่.
ทิพยวรรณ์ ไกรนรา. (2550). ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทิศนา แขมมณี .(2550). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยทางการวัดและประเมินผล.มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์-วิโรฒ พิษณุโลก
ภพ เลาหไพบูลย์. (2552). แนวการสอนวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2544). การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นทักษะกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
ศรีวดี ปิ่นทอง. (2553). การพัฒนาแนวทางการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอวกาศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุปราณี สิทธิไพโรจน์สกุล. (2551). รู้ใช้...รู้เทคนิคในห้องปฏิบัติการ. ปทุมธานี: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
Paton, C.-Walsh. (2015). Can Report Templates Aid Student Learning in Undergraduate Chemistry Laboratory Classes?. Journal of University Teaching & Learning Practice, Volume 12, Issue 2. from http://files.eric.ed.gov/fulltext/EJ1072398.pdf, Retrieved June, 02, 2017
Dybowski, C. (2013). An Example Report. , from https://www.samplestemplates.org/wp-content/uploads/2015/04/lab-report-example-.pdf , Retrieved June, 02, 2017
Keeley, P. (2008) Science Formative Assessment: 75 Practical Strategies for Linking Assessment, Instruction, and Learning (Thousand Oaks, CA: Corwin Press), , from http://www.m5zn.com/newuploads/2015/11/17/pdf/94c3ed79f5625ee.pdf, Retrieved October, 02, 2017
Whitehead, D. & Murphy, F. (2014). Mind Your Language": High School Students Write Laboratory Reports. Journal of Adolescent & Adult Literacy,Volume 57,Issue 6. from http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/jaal.272/abstract, Retrieved June, 02, 2017,
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.