แรงงานแพลตฟอร์มในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • นิภาพรรณ เจนสันติกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

แรงงานแพลตฟอร์ม, เศรษฐกิจดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทบทวนแนวคิด เกี่ยวกับรูปแบบการทำงานแรงงานแพลตฟอร์มและวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียของการทำงานเพื่ออธิบายปรากฏการณ์แรงงานที่เกิดขึ้น ผลการวิเคราะห์ พบว่า รูปแบบของการทำงาน จำแนกเป็นงานรับเป็นครั้งหรืองานตามความต้องการ งานที่ทำได้ทุกที่ งานที่เป็นบางเวลา งานว่าจ้างหลายฝ่ายและงานจ้างตนเอง โดยมีข้อดี คือ 1) สามารถดำเนินการผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ 2) รายได้ผันแปรตามปริมาณงาน 3) เป็นการสร้างทางเลือกในการทำงานมีความยืดหยุ่นเรื่องระยะเวลาในการทำงาน ส่วนข้อเสีย คือ 1) ความไม่มั่นคงจากรายได้ที่ไม่แน่นอนและการไม่ได้รับสิทธิขั้นพื้นฐาน 2) ความเสี่ยงอันเกิดจากการถูกแย่งงานจากคนอื่นที่มีฝีมือหรือทักษะแบบเดียวกันและความเสี่ยงจากอุบัติเหตุ

 

References

กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). รายงานการศึกษา“กรณีศึกษาการทำงานของเยาวชนโดยแอปพลิเคชันเรียกรถและบริการส่งอาหาร : ข้อเสนอเพื่อทบทวนนโยบายแรงงานและภารกิจของกระทรวงแรงงาน. หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ) คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). “การบริหารแรงงาน: Gig Economy ตามทัศนมิติแรงงาน”. วารสารธรรมศาสตร์, ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-เมษายน 2563 : หน้า 131-158.
กองบริหารข้อมูลตลาดแรงงาน. (2561). การเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานในยุคดิจิทัล. ม.ป.ท.
กานต์พิชชา เก่งการช่าง. (2556). “เจนเนอเรชั่นวายกับความท้าทายใหม่ในการบริหารทรัพยากรบุคคล”. วารสารสังคมศาสตรแ์ละศิลปศาสตร์, ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2556 : หน้า 15-27.
กุลลินี มุทธากลิน และนรชิต จิรสัทธรรม. (2563). แรงงานในเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/896701
ชนฐิตา ไกรศรีกุล. (2563). รู้จักแรงงานดิจิทัล: ฟรีแลนซ์และกรรมกรแพลตฟอร์ม งานออฟไลน์สู่ออนไลน์ ความอิสระที่ไม่อิสระ. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564, จาก https://decode.plus/20200805/
แนวหน้า. (2563). โควิด-เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม ปัจจัยทำอนาคตแรงงานเคว้ง. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564, จากhttps://www.naewna.com/likesara/527410
ปิยวรรณ ปนิทานเต. (2559). “มาช่วยกันขับเคลื่อน เศรษฐกิจดิจิทัล กันเถอะ”. วารสารเทคโนโลยีวัสดุ (MTEC), ฉบับที่ 81 ประจำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559 : หน้า 61-71.
พงศธร พอกเพิ่มดี และขนิษฐา ภูสีมุงคุณ. (2563). “การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563”. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-มีนาคม 2563 : หน้า 26-42.
ภรณัยา ฆารสินธุ์. (2560). การจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่ม Gen-Y และ กลุ่ม Gen-Z โดยใช้ความต้องการส่วนประสมการค้าปลีกธุรกิจร้านอีฟแอนบอย ในเขตกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2562). การลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรม: นัยของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับความเหลื่อมล้ำ-บทเรียนจากเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า.
สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์. (2563). เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม กับมาตรฐานแรงงาน. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564, จาก https://tdri.or.th/2020/09/social-security-for-digital-platform-workers/
อภิชญา ฉกาจธรรม และปาจรีย์ รอดพ่าย. (2563). ทางรอด Gig Worker ไทย: ความท้าทายใหม่ของแรงงานนอกระบบภายใต้วิถีชีวิต New Normal. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564, จากhttps://brandinside.asia/gig-worker-gig-economy-covid-19/
BLT. (2561). ความสุขของคนไทยกับการทำงาน. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564, จากhttps://www.bltbangkok.com/news/4317/
Dazzi, D. (2019). “GIG Economy in Europe”. Italian Labour Law e-Journal, Vol. 2 No. 2 July-December 2019 : p. 67-122.
Gerber, C. (2020). “Community Building on Crowdwork Platforms:
Autonomy and Control of Online Workers?”. Competition & Change, p. 1-22.
Johnston, H. & Land-Kazlauskas, C. (2019). Organizing On-Demand: Representation, Voice, and Collective Bargaining in the Gig Economy. Conditions of Work and Employment Series No. 94. International Labour Organization.
Stefano, V. D. (2016). The Rise of the “Just-in-Time Workforce”: On-Demand Work, Crowd Work and Labour Protection in the “Gig-Economy”. Conditions of Work and Employment Series No. 71. International Labour Organization.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-25