สังคมสงเคราะห์ตามแนวพุทธ : อาจารย์กับศิษย์
คำสำคัญ:
พุทธศาสนา, สังคมสงเคราะห์, อาจารย์, ศิษย์บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหลักสังคมสงเคราะห์ตามแนวพุทธระหว่างอาจารย์กับศิษย์ หลักสังคมสงเคราะห์ระหว่างอาจารย์กับศิษย์นั้นมีในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าได้วางหลักปฏิบัติไว้ เรียกว่า วัตร คือ แบบอย่างอันอาจารย์และศิษย์ควรประพฤติต่อกันและกัน มี อาจริยวัตร ข้อปฏิบัติที่ศิษย์ต้องปฏิบัติต่ออาจารย์ และ อันเตวาสิกวัตร ข้อปฏิบัติที่อาจารย์ต้องปฏิบัติต่อศิษย์ ข้อยืนยันได้ชัดถึงการสังคมสงเคราะห์ของอาจารย์กับศิษย์ คือ จากความหมายของคำว่า อาจารย์และศิษย์ ซึ่งในความหมายเหล่านั้นได้แสดงให้เห็นทั้งหน้าที่ที่อาจารย์ต้องปฏิบัติต่อศิษย์และระบุให้เห็นว่าศิษย์ต้องปฏิบัติต่ออาจารย์
ศิษย์กับอาจารย์ต้องรัก เคารพ ซื่อสัตย์ แนะนำสั่งสอน อาศัยซึ่งกันและกัน จึงจะสามารถอยู่ร่วมกันและยังความเจริญให้เกิดขึ้นได้ หากเกิดความขัดแยังกัน เมื่อนั้นจะหาความเจริญไม่ได้
References
กถาแปล ภาค 2.พิมพ์ครั้งที่ 12.โรงพิมพ์มหามกุราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร.
พ 16 ศูนย์มหาสารคาม. (2548). การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.เอกสารประกอบการสัมมนา
แนวทางการบริหารการศึกษาสู่ผู้บริหารมืออาชีพ.ปีที่ 1.ฉบับที่ 1.
พระทศเทพ ทสธมฺโม (วณิชาติ) และคณะ.จริยศาสตร์: ความกตัญญูกตเวทิตาต่อบุพการี
(The Ethics: The Gratefulness for a Previous Benefactor).วารสารวิชาการธรรม
ทรรศน์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2562) น.248-249.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546).พุทธรรม.พิมพ์ครั้งที่ 11.โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร.
พระพิจิตรธรรมพาที (ชัยวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน).(ม.ป.ป.). เทศนาวาไรตี้.โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง.
กรุงเทพมหานคร.
พระมหาสมปอง มุทิโต.(2542) คัมภีร์อภิธานวรรณนา. โรงพิมพ์ธรรมสภา.กรุงเทพมหานคร.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2528). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรรม.
พิมพ์ครั้งที่ 4. ด่านสุทธาการพิมพ์. กรุงเทพมหานคร.
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปภัมภ์.(2535).อภิธานปฺปทีปีกาและอภิธานปฺ-
ปทีปีกาสูจิ.โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร.
ราชกิจจานุเบกษา.(2481).พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระวันรัต
ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังราช. เล่ม 55. ตอน ๐ ก. 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481.
วรเทพ เวียงแก.การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยศีล (Quality Development with Precept).
วารสารวิชาการแสงอีสาน ปีที่ 17 ฉบับที่ 12 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563) น.14-25.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.(2538).วินัยมุข เล่ม 2.พิมพ์ครั้งที่ 30.
โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร.
สุรีย์ มีผลกิจและวิเชียร มีผลกิจ. (2545). พระพุทธกิจ 45 พรรษา.พิมพ์ครั้งที่ 3.พิมพ์ที่ บริษัท
คอมฟอร์ม จำกัด. กรุงเทพมหานคร.
สำนักเรียนราชบพิธสถิตมหาสีมาราม. (2547). คู่มือการศึกษาธรรมศึกษาชั้นโท. โรงพิมพ์มหามกุฏ-
ราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร.
Phra Dhambhidok (P.A.Payutto). (2003). Dictionary of Buddhism. Eleven
publishing.Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya Printing house.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.