การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4
คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบ, การนิเทศ, การสอนภาษาไทยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบองค์ประกอบการนิเทศการสอนภาษาไทยในสถานศึกษา 2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการนิเทศการสอนภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 3) พัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 กลุ่มตัวอย่างการศึกษาเชิงปริมาณ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 136 คน โดยสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ และการศึกษาเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติพื้นฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการนิเทศการสอนภาษาไทยในสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) สภาพปัจจุบัน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ความต้องการจำเป็นเรียงลำดับดังนี้ การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การวางแผนและกำหนดทางเลือก การประเมินผลและรายงานผล และการปฏิบัติการนิเทศ 3) รูปแบบการนิเทศการสอนภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 หลักการแนวคิดและวัตถุประสงค์ ส่วนที่ 2 วิธีดำเนินการ ส่วนที่ 3 แนวทางการนำไปใช้ ส่วนที่ 4 การประเมินผล และส่วนที่ 5 เงื่อนไขความสำเร็จ และผลการประเมินมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก
References
กรองทอง จิรเดชากุล. (2550). คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ธารอักษร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กิตติศักดิ์ แก้วบุตรดี และอัจฉรา กิจเดช. (2561). QR CODE ในประเทศไทยและการประยุกต์ใช้ภายในโรงพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0. Mahidol R2R e-Journal, 5(2), 51-59,กรกฎาคม–ธันวาคม.
จรัญ น่วมมะโน. (2562) การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการนิเทศการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ทิศนา แขมมณี. (2546). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระ รุญเจริญ. (2544). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.
ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์. (2545). TQM ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
ภัณฑิรา สุปการ. (2557). รูปแบบการบริหารการจัดการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่21. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2556). ศาสตร์การนิเทศการสอนและการโค้ชการพัฒนาวิชาชีพ : ทฤษฎีกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 12. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมหวัง พนธะลี. (2562). การพัฒนาระบบการนิเทศการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสอนแนะและการเป็นพี่เลี้ยงครูสำหรับศึกษานิเทศก์. วิทยานิพนธ์ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมาน อัศวภูมิ. (2541). ที คิว เอ็มการบริหารทั่วทั้งองค์การ ในองค์การทางการศึกษา. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2554). หลักการ ทฤษฎีและแนวปฏิบัติทางการบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
หน่วยศึกษานิเทศก์. (2562). แนวทางการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ฮิโตชิ คูเมะ. (2540). การบริหารจัดการคุรภาพ (MBQ). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
Acheson, K., & Gall, M. (2003). Clinical supervision and teacher development: Preserve and in service applications (5" ed.). New York: John Wiley & Sons. Burton.
Deming, E. W. (1995). Out of the Crisis (T. M. I. of T. for A. advanced E. study Center, Ed.). USA.
Keeves P.J. (1988). Educational research, methodology and measurement: An international handbook. Oxford: Pergamon Press.
McKeown, M. (2008). The truth about innovation. London. Prentice Hall.
อัญชลี ธรรมวิจิตกุล. (2552). เทคนิคการนิเทศ : ระบบพี่เลี้ยงและการให้คำปรึกษา. [ออนไลน์]. ได้จาก : https://panchalee.wordpress.com/2009/03/30/supervision. [สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 ตุลาคม 2562].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.