การสอนพลศึกษาไทยในยุค COVID 19 กับ FLIPPED CLASSROOM
คำสำคัญ:
การสอนพลศึกษา, COVID 19, ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom)บทคัดย่อ
รายวิชาพลศึกษามุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ครูผู้สอนจึงต้องจัดการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของรายวิชา ในปัจจุบันการศึกษาไทยประสบปัญหา COVID 19 ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนนั้นไม่สามารถทำได้เต็มที่ ครูผู้สอนจึงต้องเลือกรูปแบบวิธีการสอนให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน และสถานการณ์ในปัจจุบัน รูปแบบการจัดการเรียนการการสอนห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ที่มีใจความสำคัญคือ “เรียนที่บ้าน ทำการบ้านที่โรงเรียน” โดยหัวใจหลักที่แท้จริงของรูปแบบการสอนนี้ที่ครูผ็สอนควรยึดเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ได้แก่F – Flexible Environment, L – Learning Culture, I – Intentional Content และP – Professional Educator จากรูปแบบเทคนิคดังกล่าวผู้จัดทำจึงเล็งเห็นว่ารูปแบบการสอนนี้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและสามารถพัฒนาผู้เรียนในการเรียนพลศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างแท้จริงและมีประสิทธิภาพ
References
ภาษาไทย
เจริญ กระบวนรัตน์. (2558). หลักการและเทคนิคการฝึกกรีฑา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เจริญ ภูวิจิตร์. (2564). ภาวะผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564,
สืบค้นจาก http://www.nidtep.go.th/webnidtep2015/files/090460_1.pdf
ณัฐวรรธน์ สถิราวิวัฒน์และคณะ. (2561). แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านสำหรับวิชาพลศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564,จากhttps://so03.tcithaijo.org/index.php/liberalartsjournal/article/download
/138934/103215/.
ปางลีลา บูรพาพิชิตภัย. (มปป.). The Flipped Classroom to Learning and
teaching in Thailand. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564, สืบค้นจาก https://www.academia.edu.
วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2561). หลักและวิธีการสอนพลศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
วิจารณ์ พานิช. (2556). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3 .กรุงเทพมหานคร. ฝ่าย โรงพิมพ์ บริษัท ตถาตา พับลิเคชั่น.
สมชาย ประเสริฐศิริพันธ์. (2547). 4 ทศวรรษการกีฬาแห่งประเทศไทย = Sport authority of Thailand / การกีฬาแห่งประเทศไทย ; กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบี้ย.
สุรศักดิ์ ปากเฮ. (2556). ห้องเรียนกลับทาง: ห้องเรียนมิติใหม่ในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2564, สืบค้นจาก http://phd.mbuisc.ac.th/academic/flippedped%20classroom2.pdf.
โอภาส พุทธเจริญ. (2564). โรคติดต่อ -- การป้องกันและควบคุม. สืบค้นเมื่อวันที่ 20
พฤศจิกายน 2564, สืบค้นจาก https:// chulalongkornhospital.go.th/kcmh/line/ระดับของผู้ป่วยโควิด-19.
ภาษาอังกฤษ
Bergmann & Sams. (2012). Flip your classroom: Reach every student in every class every day. Eugene, OR: International Society for Technology in Education.
Dong, E., Du, H., & Gardner, L. (2020). An interactive web-based dashboard to track COVID19 in real time. The Lancet Infectious Diseases,20(5), 533–534. doi:10.1016/S1473-3099(20)30120-1. สืบค้นจากhttps://www.thelancet.com/journals/laninf/article/PIIS1473-3099(20)30120-1/fulltext. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564.
Jureerat Thomthong. (2014) ห้องเรียนกลับด้าน (The Flipped Classroom) สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564, สืบค้นจาก https://prezi.com/o1meklxbpyl2/the- flipped classroom/.
Jackie Gerstein, Ed.D. (2016). The Flipped Classroom Model: A Full Picture. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564, สืบค้นจาก http://usergeneratededucation.wordpress.com/2011/06/13/the- flipped-classroom-model-a-full-picture/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.