การพัฒนาความรู้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น โดยใช้ E-Book สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโคกกลางสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษามุกดาหาร
คำสำคัญ:
การพัฒนาความรู้; คอมพิวเตอร์เบื้องต้น; E- Book;ชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 4; โรงเรียนบ้านโคกกลางบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความรู้คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโคกกลางสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษามุกดาหารโดยใช้ E- Bookโรงเรียนบ้านโคกกลาง จำนวน 18 คน ได้มาโดยได้มาจากการสุ่มแบบง่ายโดยวิธีจับฉลากเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดสื่อการเรียนการสอน E-Book เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียนด้วยชุดสื่อการเรียนการสอน E-Book เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโคกกลาง มีคะแนนค่าเฉลี่ย 3.93คะแนนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.76 คะแนน คะแนนค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 4.44 เมื่อพิจารณาพิจารณาเป็นรายบุคคล พบว่า นักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้นทุกคนแสดงว่าการจัดการเรียนด้วยชุดสื่อการเรียนการสอน สอน E-Book เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโคกกลาง ช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น เป็นไปตามสมมติฐานสำหรับการวิจัยแสดงว่าการจัดการเรียนการสอน วิชาคอมพิวเตอร์เรื่อง ง14101 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นักของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโคกกลาง
References
กรรณิการ์ ถีราวุฒิ. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา 0109431 นิทานสุภาษิต โดยใช้บทบาทสมมุติของนิสิตหลักสูตรวิชาภาษาจีน ชั้นปีที่ 3
มหาลัยทักษิณ. วารสารอินทนิลทักษิณสาร(ฉบับพิเศษ) ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน กันยายน-ธันวาคม 2560,หน้า 127-140, สืบค้นจาก : https://so02.tci-thaijo.org/index.php/HUSOTSU/article/view/154281,
สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สืบค้นจาก :
https://he02.tci-thaijo.org › article, สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560.
จรัญญา จงวสุศรี. (2551). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฝึกการอ่านร้อยกรอง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร ,หน้า 135-142, สืบค้นจาก : http://www.tnrr.in.th/?page=result_search&record_id=10081353 : สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560
นิวาดี นิสาตโสภณ. (2555). รูปแบบการเรียนของผู้เรียนในมุมมองของทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์.
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สืบค้นจาก : http://digital_collect.lib.buu.ac.th › dcms, สืบค้นเมื่อ
มีนาคม 2560.
ไพรสัณฑ์ สุวรรณศรี. (2551). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ เรื่องความรู้
พื้นฐานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเจี้ยนหัว. การค้นคว้า
อิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 97-86, สืบค้นจาก :
: http://dspace.bru.ac.th, สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560
วสันต์ อติศัพท์. (2559). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย ปีที่ 5
ฉบับที่ 1 ประจำเดือน เดือนมกราคม – มิถุนายน 2559:หน้า42-49 สืบค้นจาก : http://ithesis- ir.su.ac.th › dspace › bitstream , สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560
เสาวภา วิชาดี. (2559). การศึกษาในกระบวนทัศน์ใหม่. การเรียนโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน. Executive Journal มหาวิทยาลัยกรุงเทพ,หน้า 26-30, สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org ›,:สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560
สุวิดา เนาว์แสง. (2550). ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน
เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยทักษิณหน้า,หน้า 78-92, สืบค้นจาก :http://book.pbru.ac.th › thesis ›, สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560
สุวิดา ศรีนาค. (2552). ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส่งเสริมการอ่าน
เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่4. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยทักษิณ,หน้า 111-135, สืบค้นจาก : https://he02.tci-thaijo.org:สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2560
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.