ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู และ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู สามารถนำมาอภิปรายผลโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (x=4.57) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วม มีค่าเฉลี่ย (x=4.72) ด้านภาวะผู้นำแบบมอบหมายงาน มีค่าเฉลี่ย (x=4.59) ด้านภาวะผู้นำมุ่งประสิทธิผล มีค่าเฉลี่ย(x=4.58) และด้านภาวะผู้นำแบบขายความคิด มีค่าเฉลี่ย (x=4.57) อยู่ในระดับมาก 1 ด้าน ได้แก่ ด้านภาวะผู้นำแบบสั่งการ มีค่าเฉลี่ย (x=4.40) 2) ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู จำแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีเพศ อายุ และการปฏิบัติงานในขนาดสถานศึกษาที่แตกต่างกัน มีภาวะผู้นำตามสถานการณ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน พบว่า ไม่แตกต่างกัน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546.
กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.
เทื้อน ทองแก้ว. (2563). การออกแบบการศึกษาในชีวิตวิถีใหม่: ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID-19. คุรุสภาวิ
ทยาจารย์ JOURNAL OF TEACHER PROFESSIONAL DEVELOPMENT ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน
พฤษภาคม – สิงหาคม 2563,หน้า 1 – 10.
ธนะชัย เชาว์พลกรัง. (2554). แบบภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 34 ฉบับที่ 1-2 ประจำ
เดือนมกราคม - มิถุนายน 2554,หน้า 61 – 69.
ธัญพร ตันหยง. (2561). การศึกษาบทบาทภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 12
ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม - เมษายน 2561,หน้า 125 – 131.
บัญชา บุญบำรุง. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ
ข้าราชการครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหา
บัณฑิต,สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2561.
บัณฑิตา สิทธิพงศากุล. (2564). ภาวะผู้นำของผู้บริหารกับองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาการบริหารการ
ศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2564.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงทพฯ:
สุวีริยาสาส์น
วิษณุกร แตงแก้ว. (2563). ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบริหารงานบุคคลของโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหา
บัณฑิต,สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2563.
วรรณพร ตรีชัยศรี. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2. บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์
วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนกันยายน –ธันวาคม 2562,หน้า 413 – 426.
Christopher DC. Francisco. (2020). Emergence of a Situational Leadership during COVID-19
Pandemic called New Normal Leadership. International Journal of Academic Multidisciplinary
Research (IJAMR), Vol.4 Issue 10 October, 2020,p.15-19.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test (5th ed.). New York: Harper Collins.
House, R. J. and Mitchell, T. R. (1974). Path-Goal Theory of Leadership. Journal of Contemporary
Business,p.81-97.
Martin Brown (2021). Global messages from the edge of Europe the cause and effect of leadership
and planning strategies during the COVID-19 pandemic. Irish Educational Studies, 2021, Vol.40
No.2,p.151-159.
Susannah Ahern. (2020). Leadership during the COVID-19 pandemic: building and sustaining trust
in times of uncertainty. Ahern S, Loh E. BMJ Leader 2021,p.266-269.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.