การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม

ผู้แต่ง

  • Akkharadet Neelayothin -

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์นำเสนอการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้ทราบความหมาย ความสำคัญ กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแที่เป็นระบบและชัดเจน มีการร่วมกันดำเนินกระบวนการวิจัยโดย ผู้ปฏิบัติงานทุกคนในพื้นที่ กับผู้วิจัยภายนอก มุ่งเน้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์กร ชุมชน สังคม เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของและความรับผิดชอบในผลของการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งขั้นตอนกระบวนกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 1) การร่วมเตรียมการ 2) การร่ามวางแผน 3) การร่วมลงมือปฏิบัติ 4) การร่วมสังเกต 5) การร่วมสะท้อนผล 6) การร่วมวางแผนใหม่ 7) การการร่วมลงปฏิบัติใหม่การ 8) การร่วมสังเกต 9) การร่วมวิเคราะห์ผล และ 10) การร่วมสรุปรายงานผลวิจัย

References

จิรัชยา เจียวกก และสันติชัย แย้มใหม่. (2559). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน. สืบค้นจาก https://doi.nrct.go.th//ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14456/hyaj.2016.7 สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2565

ดนัยรัตน์ กาศเกษม และฉลอง ชาตรูประชีวิน. (2563). การพัฒนาครูสะเต็มในโรงเรียนมัธยมศึกษาด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/tgt/article/view/243959/165675, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2565

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546. (9 ตุลาคม 2546). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 55 ก หน้า 1

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550. (15 กันยายน 2550). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 120 ตอนที่ 100 ก หน้าที่ 1 – 16

พิศุทธ์ปภาณ จินะวงค์. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการคูณโดยใช้แบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสุเหร่าลาดพร้าว. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawasrijo/article/view/251375/171454, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2565.

สัญญา ยือราน (2561). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม สู่ความสำเร็จการเปลี่ยนแปลงนโยบายในระบบสุขภาพ. สืบค้นจาก https://cuturl.sbs/B2YUYy8, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2565.

สิทธิพร เขาอุ่น และคณะ. (2564). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการบริหารจัดการขยะชุมชนฐานราก:องค์การบริหารส่วนตำบลลำพยนต์ อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์. สืบค้นจาก https://shorturl.asia/dgoMu, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2565.

สุสารี ประคินกิจ, จรัสดาว เรลโนลด์ และ อรทิพา ส่องศิริ . (2562). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน ด้วยกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาชุมชนหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก https://e-library.siam.edu/e-journal/wp-content/uploads/2020/02/Susaree-Prakhinkit-APHEIT-J.-science-8-1-2562.pdf, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2565.

Carr, and Kemmis. (1986). Becoming Critical: Educational, Knowledge and Action Research. London: Falmer

Cohen, J. M., & Uphoff, N. T. (1981). Rural Development Participation: Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. Ithaca, NY: Rural Development Committee Center for International Studies, Cornell University.

Denzin, and Lincoln. (1994). Handbook of Qualitative Research. Thousand Oaks: Sage.

Kemmis, and McTaggart. (1990). The action research planner. Geelong: Deakin University Press.

Kurt Lewin. (1946). Action Research and Minority Problems. Journal of Social, Issues 2

Stringer, E. T. (2004). Action research in education. Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

White, (1982). Why Community Participation a Discussion of the argument go, Community participation: Current issue and lesson learned. New York: United Nations Children’s Fund

Zuber Skerrit. 1992). Improving learning and teaching through action learning and action research (Draft paper for the HERDSA Conference 1992). University of Queensland

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-21