ภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, ภาวะผู้นำเชิงพุทธ, ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7 และเพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7 กลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.31 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน ได้แก่ ด้านมีความชอบธรรม ( = 4.51 ) มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ ด้านมีความเสียสละ ( = 4.26 ) ด้านมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( = 4.24 ) และด้านมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ( = 4.23 ) 2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7 จำแนกตาม ตำแหน่ง ประสบการณ์การทำงาน และระดับการศึกษา พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์การทำงาน และระดับการศึกษาต่างกัน มีภาวะผู้นำเชิงพุทธแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้บริหารสถานศึกษาที่มีตำแหน่งต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (2535). ประวัติการปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนากระทรวงศึกษาธิการ
กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2565). แผนกสามัญศึกษา. สืบค้นจาก https://deb.onab.go.th/th/page/item/index/id/13# ,สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2565
ชวภาพัณณ์ อนัญสถิตพัฒน์. (2560). ภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
นพวรรณ แก้วมั่น. (2562). คุณธรรมผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานบุคคลตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและพนักงานครูในโรงเรียน สังกัดเทศบาลจังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
นิวัฒน์ ทรหาญ. (2561). ภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษา กลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
พระครูสุตวุฒิคุณ (ปรีชา าณวฑฺฒโน). (2560). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระทองเลี่ยม ถิรคุโณ (แฝงจันดา). (2564). ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระเทพปริยัติเมธี (สฤษฏิ์ สิริธโร). (2553). ภาวะผู้นำเชิงพุทธกับการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย. (รายงานวิจัย). พระนครรศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาพิทักษ์ จิตฺตโสภโณ. (2563). แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยหลักความเสียสละของพระโพธิสัตว์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธ วิกสิตาราม, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม, 2563 หน้า 8 – 15.
พระมหาวิทูร ธมฺมโชโต (แสงอินทร์). (2561). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาสุชิน วชิราโณ (เชยผลบุญ). (2564). การประยุกต์ใช้หลักธรรมเชิงพุทธของผู้บริหารในการบริหารงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครสวรรค์. หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์.
ภาณุวัฒน์ บุญธัญกิจ. (2563). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครตามทัศนะของผู้บริหารและครู. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการศึกษา, วิทยาลัยครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
วัฒสันต์ แสงจันดา. (2563). ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเมืองเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2564). พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย). (พิมพ์ครั้งที่ 55). กรุงเทพฯ: บริษัท ท่าทรายกนก (2000) จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). นวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษาในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ: กรณีตัวอย่างโรงเรียนไพรบึงวิทยาคม. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2555). แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน มาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุธาเนศ เพชรโปร และบรรจบ บรรณรุจิ. (2559). ภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน พฤษภาคม – สิงหาคม, 2559 หน้า 60 – 72.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test (5th ed.). New York: Harper Collins.
David Epstein. (2564). Range วิชารู้รอบ. กรุงเทพฯ: ซอลท์ พับลิชชิ่ง. สืบค้นจาก https://www.aksorn.com/expertise,สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2565
Gellerman Saul W. (1996). The Management of Human Relations. New York, Holt. Rubegart and Winston.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1997). On the use of content specialists in the Assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research. 2, Pages: 49-60.
Weber. M. (1978). Economy and Society. Berkeley: University of California Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการแสงอีสาน Saeng-Isan Academic Journal ISSN:3027-6152(Print), ISSN:3027-6160(Online)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.