การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำควบกล้ำ โดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน บ้านทรายมูล(จันทน์รัตนานุเคราะห์)
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำควบกล้ำ โดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านทรายมูล(จันทน์รัตนานุเคราะห์) (2) ศึกษาประสิทธิผลทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำควบกล้ำ โดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านทรายมูล(จันทน์รัตนานุเคราะห์) และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านทรายมูล(จันทน์รัตนานุเคราะห์) ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 28 คน โรงเรียนบ้านทรายมูล(จันทน์รัตนานุเคราะห์) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3 เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.)
ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำควบกล้ำ โดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านทรายมูล (จันทน์รัตนานุเคราะห์) โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 24.86 คิดเป็นร้อยละ 82.86 มากกว่าเกณฑ์ ที่กำหนด (2) ประสิทธิผลทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำควบกล้ำ โดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านทรายมูล(จันทน์รัตนานุเคราะห์) มีค่าดัชนีเท่ากับ 0.67 มากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด และ (3) ความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านทรายมูล(จันทน์รัตนานุเคราะห์) ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD อยู่ในระดับมากที่สุด
References
ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,หน้า 1
________. (2551). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ,หน้า 37.
เกษร ยันรัมย์. (2558). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คำประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ โดยใช้กิจกรรมกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบแบบฝึกทักษะกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน,คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,หน้า 109.
เจนจิรา ถาสีทะ. (2564). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต,สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน,คณะครุศาสตร์,มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,หน้า 3.
นันทวัน กองธรรม. (2556). การพัฒนาความสามารถการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ประกอบแบบฝึก กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน,มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,หน้า 86
ประวีณ์นุช ศิริบูรณ์ (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านและการเขียนสะกดคำพื้นฐาน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบแบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน,คณะครุศาสตร์,มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,หน้า 85
รสริน สงครามสี. (2554). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยด้วยกลุ่มร่วมมือแบบSTAD เรื่อง อักษรควบ และอักษรนำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต,สาขาหลักสูตรและการสอน,คณะศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,หน้า 1.
เลิศลักษณ์ กำลังเลิศ. (2558). การพัฒนาผลลัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย เรื่อง คำควบกล้ำ ร ล ว ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STADประกอบแบบฝึกเสริมทักษะ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต,สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน,คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,หน้า 90.
ศศิวิมล แทนด้วง. (2556). เจตคติและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน,คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์,มหาวิทยาลัยหาดใหญ่,หน้า 73.
อดิสรณ์ ณ อุบล. (2556). การพัฒนาผลการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD. การค้นคว้าอิสระ,สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน,คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,หน้า 83-84.
อภิวัฒน์ โตชัยภูมิ. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความปลอดภัยในชีวิตกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน,คณะศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,หน้า 79.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.