การพัฒนาแผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คำสำคัญ:
แผนที่ความคิดแบบดิจิทัล; การเรียนร่วมกัน; การอ่านจับใจความบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีคุณภาพดีและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังจากการใช้แผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความ 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนหลังได้รับการใช้แผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จากจำนวนนักเรียน 670 คน ใช้วิธีสุ่มแบบแบบกลุ่ม ได้นักเรียนจำนวน 35 คน เนื่องจากประชากรมีความคล้ายคลึงกันระหว่างกลุ่ม ได้แก่ เพศ สติปัญญาที่มีความสามารถแตกต่างกัน คือ เก่ง กลาง และอ่อน เครื่องมือการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ มีค่าเท่ากับ 82.62/82.38 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากใช้แผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) พฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนที่มีต่อแผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความอยู่ในระดับมาก 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแผนที่ความคิดแบบดิจิทัลร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านจับใจความอยู่ในระดับมากที่สุด
References
กรรภิรมย์ แก้ววัน. (2564). ผลการใช้ชุดการสอนเพื่อฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดย
ใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับ แผนผังความคิด (Mind
Mapping) วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2. วารสารมนุษย
สังคมสาร (มสส.), ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม - เมษายน 2564, หน้า 75-96.
จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2563). การผลิตและใช้สื่ออย่างเป็นระบบ. (พิมพ์ครั้งที่
. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โชติกา เปรมสิงห์ชัย. (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับ
ใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยใชแผนที่ความคิดกับการเรียนแบบปกติ. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษ ที่ 2: บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ความรู้สู่ความยั่งยืน, 17 มิถุนายน 2559, วิทยาลัยนครราชสีมา นครราชสีมา, หน้า 678 - 687
ราชกิจจานุเบกษา. (2564). เล่ม 135 ตอนพิเศษ 44 ง,23 กุมภาพันธ์ 2564.
รุ่งตะวัน นวลแก้ว. (2560). ผลของการสอนอ่านโดยใช้แผนผังความคิดที่มีต่อความ
เข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านคลองวัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รัตนา พรมภาพ. (2551). ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนใน.
หลักสูตรของภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2550. รายงานการวิจัย. คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศยามน อินสะอาด. (2561). การออกแบบบทเรียน e-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการ
คิดขั้นสูง. กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นท์(1991).
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2). (2545).
แผนการศึกษาแห่งชาติ (2545-2559) ฉบับสรุป. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
Afflerbach, P., Pearson, P.D., and Paris, S.G. (2008). Clarifying differences
between reading skills and reading strategies. The Reading
Teacher. Vol.61.,p. 634-373.
Ahmad Khoirul Anwar. (2020). The effect of collaborative strategic
reading toward students reading skill. Anglophile Journal 1(1):
p. 21-28.
Arik Susanti, Pratiwi Retnaningdyah, Ade Nila Puspita Ayu and Anis
Trisusana. (2020). Improving EFL students' higher order thinking
skills through collaborative strategic reading in Indonesia.
International Journal of Asian Education. 1(2):p. 43-52.
Dipak Bhattacharya and Ramakanta Mohalik. (2020). Digital Mind
Mapping Software: A New Horizon in the Modern Teaching Learning Strategy. Advances in Education and Philosophy 4(10): p.400-406.
Fahd Hamad Alqasham and Arif Ahmed Mohammed Hassan Al-Ahdal.
(2021). Effectiveness of mind-mapping as a digital brainstorming
technique in enhancing attitudes of Saudi EFL learners to writing
skills. Journal of Language and Linguistic Students 17(2): p. 1146 – 1156
Gani, S.A., Yusuf, Y.Q. and R. Susiani. (2016). Progressive outcome of
collaborative strategic reading to EFL learners. Kasetsart Journal
of Social Sciences. Vol.37. No. 3 September-December, p. 144-
Johnson, F.P. and D.W. John. (1987). Join Together: Group Theory and
Group Skills. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.
Mahmoud Adel Baghagho. (2021). The effect of digital mind mapping
on developing EFL reading comprehension skills among preparatory School Students. Contemporary Curriculum and Educational Technology 2 (3): p. 33-58.
Mohammad Mahmoud Talal Mohaidat. (2018). The impact of electronic
mind maps on students’ reading comprehension. English
Language Teaching 11(4): p.32-42.
Myers, John. (1991). Cooperative Learning. Retrieved from
http://www.city.londonmet.ac.uk/deliberations/collab.learni. ng/pa nitz2.html, Acceded on 21 July 2022.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการแสงอีสาน Saeng-Isan Academic Journal ISSN:3027-6152(Print), ISSN:3027-6160(Online)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.