โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
คำสำคัญ:
โปรแกรม , ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัล , ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น ในการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 2) เพื่อสร้างและตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัล ของผู้บริหารสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบ สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น ของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัล ระยะที่ 2 การสร้างและตรวจสอบยืนยัน/ความเหมาะสมของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ระยะที่ 3 ประเมินความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 3 จำนวน 177 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 3 จำนวน 121 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินความเหมาะสม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (𝑥̅ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าความต้องการจำเป็น (PNImodified)
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น ในการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่าสภาพปัจจุบันภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (𝑥̅ = 4.32) สภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( 𝑥̅= 4.84) ความต้องการจําเป็นของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ลําดับความสําคัญของความต้องการจําเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีวิสัยทัศน์ยุคดิจิทัล (PNImodified = 0.179) ความคิดสร้างสรรค์ยุคดิจิทัล (PNImodified = 0.173) การทำงานเป็นทีมยุคดิจิทัล (PNImodified = 0.138) และสร้างบรรยากาศองค์กรยุคดิจิทัล (PNImodified = 0.121) ตามลำดับ 2.ผลการตรวจสอบยืนยันโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 ผลตรวจสอบยืนยันและประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต พบว่าความเหมาะสมและอยู่ในระดับมาก
References
กนกพิชญ์ สรรพศรี. (2565). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารและพัฒนา การศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จีระศักดิ์ นามวงษ์. (2563). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ศรีสะเกษ เขต 1. วารสาร มหาจุฬานาครทรรศน์,ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนมิถุนายน 2563, หน้า 338-352.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ศุภลักษณ์ รัตนพันธ์. (2564). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของครูอาชีวศึกษาจังหวัดขอนแก่น สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศุภิญญากิจ เกตุวิเศษกูล. (2563) การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของครู สถานศึกษาเอกชน ประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานศึกษาธิการ. วารสารวิชาการธรรม ทรรศน์, ปีที่ 20 ฉบับที่ 3ประจำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2563, หน้า 49-60.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 3. (2566). แผนปฏิบัติการสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่นเขต 3.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุธิดา สอนสืบ. (2565). โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ในยุค ดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา อุบลราชธานี อำนาจเจริญ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อภิรักษ์ บุปผาชื่น. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม: การขับเคลื่อนองค์การสู่ความเป็นเลิศ. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนกันยายน-ธันวาคม 2563, หน้า 205-216.
Armstrong, M. (2010). Essential Human Resource Management Practice, a Guide to People Management. New Delhi: Kogan Page Ltd.
Barr, M.J. and Keating, A. (1990). Introduction: Elements of Program Development. Developer Effective Student Services Program. San Francisco: Jossey–Bass.
Charney, D., & Conway, J. (2005). Self-regulated learning: A research agenda. Educational Psychologist, 40(2), p. 83-96.
Davidovich, M. (2010). Beyond School Improvement: The Journey to Innovative Leadership. Thousand Oaks, CA: Corwin Press.
George, B. (2012). Five traits of innovative leadership. สืบค้นจาก https://bit.ly/2KaM1HO, สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2566
Horth, D. M. and Vehar, J. (2012). Becoming a leader who fosters innovation. Baffles: Guildford & King.
Kanaya, T. and others. (2005). Factors Influencing Outcomes From A Technology- Focused Professional Development Program. Journal of Research on Technology in Education, 37(3), p. 313-329.
Mondy, R.W. (2010). Human Resource Management. 11th ed. Upper Saddle River, NJ : Pearson Education.
Roscorla, T. (2010). The 7 Steps to Innovative Leadership. สืบค้นจาก http://www.convergemag.com/policy/The-7-Elements-of-Innovative-Leadership.html, สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2566
Vlok, A. (2012). International Conference on Leadership, Technology and Innovation Management. สืบค้นจาก www.sciencedirect.com, สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2566
Wooi, S. C. (2013). The moderating effect of long-term orientation on the timing and types of rewards. Managing Service Quality. An International Journal, 23(3), p. 225-244.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการแสงอีสาน Saeng-Isan Academic Journal ISSN:3027-6152(Print), ISSN:3027-6160(Online)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.