บทบาทและคุณลักษณะที่ดีของพลเมืองจากมุมมองของเยาวชนไทย

ผู้แต่ง

  • ศิลาวัฒน์ ชัยวงศ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

บทบาท, คุณลักษณะที่ดีของพลเมือง, มุมมองของเยาวชนไทย

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับบทบาทและคุณลักษณะที่ดีของพลเมืองจากมุมมองของเยาวชนไทย ทุกคนทราบกันดีอยู่แล้วว่าเยาวชนเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และทุกภาคส่วนต้องช่วยกันขัดเกลา หล่อหลอมเยาวชนให้เป็นพลเมืองที่ดีในสังคมผ่านระบบการศึกษา ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองตามคุณลักษณะความเป็นพลเมืองที่ดี โดยความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวมเคารพความแตกต่าง เคารพหลักความเสมอภาค เคารพกติกา และรับผิดชอบต่อตนเองและพึ่งตนเองได้ ดังนั้น การพัฒนาเยาวชนในสังคมหนึ่ง ๆ ให้มีคุณภาพจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องยกระดับ ความรู้ความสามารถ (knowledge) ทักษะ (skill) และเจตคติ (disposition) ของเยาวชนในสังคมจาก “ราษฎร” ไปสู่ “ประชาชน” ให้กลายเป็น“พลเมือง” ที่มีความรู้ ความสามารถ ตระหนักในศักยภาพของตน มีความกระตือรือร้นที่จะใช้สิทธิเสรีภาพตามกฎหมายอย่างเหมาะสมตามลำดับและตามช่วงวัยของเยาวชนเห็นประโยชน์ของส่วนรวมเป็นใหญ่ และทำเพื่อให้บ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้ามีความเป็นอยู่ที่ดีและมีความสุขกันทั่วหน้า

References

กิตติศักดิ์ ปรกติ. (2554). ความสำคัญของพลเมืองต่อการพัฒนาประชาธิปไตยไทย. การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า. ครั้งที่ 13. ประจำปี 2554, เรื่อง“ความเป็นพลเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยไทย” (Citizenship and the Future of Thai Democracy) ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพมหานคร, หน้า 137. สืบค้นจาก chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/https://kpi.ac.th/media_kpiacth

/pdf/M10_362.pdf, สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2567

ทิพย์พาพร ตันติสุนทร. (2557). พลเมือง สิทธิมนุษยชน และประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันนโยบายการศึกษาภายใต้มูลนิธิส่งเสริมนโยบายการศึกษา

ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2558). แนวคิดว่าด้วยความเป็นพลเมือง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2559). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรสจำกัด.

วัชรินทร์ ชาญศิลป์. (2561). ความเป็นพลเมืองของเยาวชนไทย. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2561, หน้า 187-209.

วินัย ผลเจริญ. (2555). โลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่กับความพ่ายแพ้ของรัฐไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, หลักสูตรรัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต,คณะรัฐศาสตร์,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2558). สรุปสาระสำคัญ รายงานผลการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11. เอกสารประกอบการประชุมประจำปีของ สศช. เส้นทางประเทศไทยสู่ประชาคมอาเซียน. สืบค้นจาก https://www.nesdc.go.th/more_news.php?cid=762&filename=evaluate_develop, สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2567

สำนักงานส่งเสริมการเมือภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า. (2564). การเป็นพลเมืองที่ดี. สืบค้นจาก https://www.kpi.ac.th/knowledge/book/data/741, สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2567

อเนก เหล่าธรรมทัศน์ (2556:17-18). ส่วนรวมที่มิใช่รัฐ: ความหมายของประชาสังคม. วารสารธรรมศาสตร์, ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2556, หน้า 124-151.

Abowitz & Harnish (2006). Contemporary Discourses of Citizenship. in review of education research.

Bachmann, Carine & Staerkle, Christian. (2003). The meanings of citizenship: From status to social process. Retrieved from http://www.cimera.org/files/reports/rr1/chapter2.pdf, Accessed on 2nd August 2024.

Damon William. (2011). The Core of Civic Virtue. Failing Liberty 101: How we are leaving young American sunprepared for citizenship in a free society. Hoover Institution Press. Retrieved from http://www.hoover.org/ publications/hoover-digest/article/84221, Accessed on 2nd August 2024.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-19