หลักพุทธธรรมกับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองไทย
คำสำคัญ:
การเมืองไทย, ความขัดแย้งทางการเมือง, หลักพุทธธรรมบทคัดย่อ
จากความอ่อนแอของประเทศที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากความขัดแย้งทางการเมืองที่มีอุดมการณ์แตกต่างกัน จึงแสดงออกโดยการต่อต้าน คัดค้านรัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศในแต่ละช่วงเวลา ทำให้สังคมไทยไปสู่การแบ่งฝักแบ่งฝ่าย จนนำไปสู่การเผชิญหน้าที่รุนแรงระหว่างรัฐกับประชาชนและประชาชนกับประชาชน หากมองในภาพรวม ความขัดแย้งที่ยืดเยื้อดังกล่าวได้บั่นทอนศักยภาพในการพัฒนาประเทศไปอย่างประเมินค่ามิได้ การแก้ไขความขัดแย้งทางการเมืองไทย จะต้องอาศัยวิธีการหรือแนวทางที่หลากหลายมาเป็นเครื่องมือผสมผสาน ต้องใช้วิธีการผ่อนปรนเข้าหากันหรือการประนีประนอมค่อยเป็นค่อยไป ดังนั้นการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาทางการเมืองในสังคมไทยจึงเป็นหลักการที่จะนำไปสู่ความปองดอกสมานฉันท์ทางการเมืองไทย ได้อย่างยั่งยืนสืบไป
References
กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม.(2550). จดหมายเหตุเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชเนื่องในการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ. (2550). ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ พุทธศักราช 2493 - 2549 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: เกรย์แมทเทอร์.
ชำนาญ จันทร์เรือง. (2559). วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย. สืบค้น 9 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/112623
พงศ์ศักดิ์เหลืองอร่าม. (2560). ความขัดแย้งทางการเมืองไทย. สืบค้น 1 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.the101.world/measuring-political-conflict
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). สายความขัดแย้งนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพฯ: บริษัทสหธรรมมิก.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์. (2564). อนาคตของการเมืองไทย. สืบค้น 15 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_2775493
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สิริอัญญา. (2564). ระยะเปลี่ยนผ่านการเมืองไทย. สืบค้น 3 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.naewna.com/politic/columnist/49352
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความ ถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ มิใช่ความเห็นหรือความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ หรือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์
บทความที่ได้รับการเผยแพร่โดยวารสาร มมร วิชาการล้านนาถือเป็นสิทธิ์ของวารสารฯ