การใช้เว็บแอปพลิเคชันเพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านคำศัพท์ของนิสิตและกระตุ้นทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนิสิต ก่อนและหลังการเรียนด้วยเว็บแอปพลิเคชัน และ 3) ศึกษาทักษะการเรียนรู้แบบพึ่งพาตนเองของนิสิต กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงประกอบด้วยนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 62 คน ที่เรียนในรายวิชาศึกษาทั่วไป หมวดภาษาอังกฤษ วิชา 0011103 ภาษาอังกฤษสำหรับชีวิตประจำวัน ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เว็บแอปพลิเคชันสำหรับสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบประเมินทักษะการเรียนรู้ด้วยตัวเองของนิสิต โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และหาประสิทธิภาพของเว็บแอปพลิเคชัน โดยใช้สูตร E1 / E2 ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80
ผลการวิจัยพบว่าเว็บแอปพลิเคชันสำหรับสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.85 /88.17 ซึ่งสูงกว่าเกฑณ์ที่กำหนด และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ของนิสิตหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้นิสิตยังมีแรงจูงใจทั้งภายในและภายนอกในระดับสูง ซึ่งสามารถชี้ให้เห็นถึงทักษะการเรียนรู้แบบพึ่งพาตนเองของนิสิตเมื่อเรียนผ่านเว็บแอปพลิเคชัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
Appanna, S. (2008). A review of benefits and limitations of online learning in the context of the student, the instructor and the Tenured Faculty. International Journal on E-Learning, 7(1), 5-22.
Fatemeh, E., & Abbas, P, G. (2020). The impact of computer assisted language learning (CALL) on improving intermediate EFL learners’ vocabulary learning. International Journal of Language Education, 4(1), 96-112.
Ghabanchi, Z, and Anbarestani, M. (2008). The effects of call program on expanding lexical knowledge of EFL Iranian intermediate learners. The Reading Matrix, 8(2), 86- 95
Gonzalez, D., & St. Louis, R. (2008). The use of web 2.0 tools to promote learner autonomy. Independence, 43(1), 28-32.
Hajebi, M., Taheri, S., Fahandezh, F., & Salari, H. (2018). The role of web-based language teaching on vocabulary retention of adult pre-intermediate EFL learners. Journal of Language Teaching Research in English Language Pedagogy, 9(2), 372-378.
Naraghizadeh, M., & Barimani, S. (2013). The effect of call on the vocabulary learning of Iranian EFL learners. Journal of Academic and Applied Studies, 3(8), 1-12.
Parupalli, S. R. (2019). The role of English as a global language. Research Journal of English, 4(1), 65-79.
Raniah, K., & Tariq, E. (2018). The effects of YouTube in multimedia instruction for vocabulary learning: Perceptions of EFL students and teachers. English Language Teaching, Canadian Center of Science and Education, 11(2), 72-81.
Reza, K., & Fereshteh, K. (2014). Iranian EFL learners’ vocabulary development through Wikipedia. English Language Teaching, Canadian Center of Science and Education, 7(7), 57-67.
Şenyuva, E., & Kaya, H. (2014). Effect self directed learning readiness of nursing students of the web based learning. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 152, 386-392.
Sneddon, J. N. (2003). The Indonesian language, Its history and role in modern society. Sydney: NSW Press.
Susanto, A. (2017). The teaching of vocabulary: A perspective. Journal KATA, 1, 182-191.
Ushioda, E. (1996). Learner autonomy 5: The role of motivation. Dublin: Authentik.
Wang, B., Teng, C., & Chen, H. (2015). Using iPad to facilitate English vocabulary learning. International Journal of Information and Education Technology, 5(2), 100-104.
Wang, M., Cheng, B., Chen, J., Mercer, N., & Kirschner, P. A. (2017). The use of web-based collaborative concept mapping to support group learning and interaction in an online environment. The Internet and Higher Education, 34, 28-40.
Widayanti, N. K. A., & Suarnajaya, I. W. (2021). Students challenges in learning English online classes. Jurnal Pendidikan Bahasa Inggris undiksha, 9(1), 77-84.