ลักษณะโครงสร้างและหลักการบริหารราชการไทยในสมัยกรุงสุโขทัย

Main Article Content

สุรศักดิ์ ชะมารัมย์

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งนำเสนอเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างและหลักการบริหารราชการไทยในสมัยกรุงสุโขทัย โดยเริ่มตั้งแต่ลักษณะสภาพทั่วไปของบ้านเมืองในสมัยกรุงสุโขทัยในด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครอง จากนั้นเป็นเรื่องโครงสร้างการบริหารราชการ รวมตลอดทั้งหลักการบริหารราชการ ซึ่งครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ คือ หลักการใช้อำนาจบริหาร นโยบายการบริหารราชการ หลักการบริหารราชการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการ     ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลในเชิงลึกและกว้างสำหรับผู้สนใจต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1.ดนัย ไชยโยธา, “การเมืองและการปกครอง ของไทย”, กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์, 2548.
2.นคร พันธุ์นรงค์, “ประวัติศาสตร์ไทยสมัย สุโขทัย”, กรุงเทพฯ, ไทยวัฒนาพานิช, 2528.
3.ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล และคณะ, “การเมือง การปกครองก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา”, ในเอกสารการสอนชุดวิชา ประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองไทย หน่วยที่ 2,นนทบุรี, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชารัฐศาสตร์, 2553, หน้า. 2-51.
4.รังสรรค์ ประเสริฐศรี, “ประวัติและพัฒนาการของการบริหารราชการไทย” ในเอกสารการสอนชุด วิชาการบริหารราชการไทย หน่วยที่ 2, นนทบุรี, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, 2553, หน้า. 39-85.
5.ลิขิต ธีระเวคิน, “วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย”, กรุงเทพฯ, อักษรสัมพันธ์ (1987) จำกัด, (พิมพ์ครั้งที่ 10), 2554.
6.วิวัฒน์ เอี่ยมไพรวัลย์, “แนวคิดเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การเมืองไทย”, ในเอกสารการสอนชุดวิชาการประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองไทย หน่วยที่ 2, นนทบุรี, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชารัฐศาสตร์, 2553, หน้า. 2-42.
7.ทินพันธุ์ นาคะตะ, “การเมืองไทย ระบบที่ไม่มีสูตรสำเร็จรูปในการแก้ปัญหา”, กรุงเทพฯ, ปัญญาชน, 2555.
8.รสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์, “การบริหารท้องถิ่นไทย”, ในเอกสารการสอนชุดวิชาหลักการบริหารท้องถิ่น หน่วยที่ 9, นนทบุรี, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, 2554, หน้า. 2-56.
9.ประชัน คะเนวัน, “การบริหารราชการไทย”, บุรีรัมย์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 2549.