สัมพันธบทของเรื่องเล่าความรักผ่านรายการคลับฟรายเดย์

Main Article Content

ประกายกาวิล ศรีจินดา

บทคัดย่อ

บทความนี้ เป็นการวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) จากเรื่องเล่าที่นำเสนอผ่านทางรายการวิทยุ Club Friday และนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์คลับฟรายเดย์ เดอะ ซีรีย์ (Club Friday The Series) และมีการสร้างเป็นละครภาคต่อ  (To be Continued) โดยวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ลักษณะสัมพันธบท (Intertexuality) ของเรื่องราวความรักจากเรื่องเล่าความรักผ่านรายการคลับฟรายเดย์  เพื่อนำเสนอมุมมองและแนวทางการศึกษารูปแบบที่แตกต่างภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่เกี่ยวกับการเชื่อมโยงจากบทหนึ่งกับอีกตัวบทหนึ่งที่น่าสนใจในมุมมองทางด้านการสื่อสาร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1 ภาพร, ดีเจพี่ฉอด. “เรื่องเล่า จาก Club Friday”. กรุงเทพฯ: บุ๊ค โชว์. 2549.
2 Bourdieu, “Distinction: A Social Critique of the Judgement of Taste” (trans.) Richard Nice. Cambridge, MA.:Harward University Press. 1994.
3 กาญจนา แก้วเทพ. “ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา”. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บริษัทเอดิสันเพรส โพรดักส์ จำกัด. 2549.
4 กาญจนา แก้วเทพ. “สื่อเก่า-สื่อใหม่ สัญญะ อัตลักษณ์ อุดมการณ์”. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. 2555.
5 Nation TV, “กสท.สั่งปรับ 5 หมื่น ช่อง GMM25 ซีรีส์ "เพื่อนรักเพื่อนร้าย" เสนอฉากรุนแรงทางเพศ, 12 กรกฎาคม 2559, สืบค้นจากhttp://www.nationtv.tv/main/content/entertainment/378508862/.
6 Neale, “Genre and Hollywood” .London : Routledge, 2000
7 P. Bourdieu, “Distinction: A Social Critique of the Judgement of Taste” (trans.) Richard Nice. Cambridge, MA.:Harward University Press. 1994.
8 ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. “ประวัติศาสตร์ของเพศวิถี : ประวัติศาสตร์เรื่องเพศ/เรื่องเพศในประวัติศาสตร์ไทย” กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา. 2551.
9 ษิธู ประมวญ, “การสร้างความหมายการเลือกคู่ในรายการเกมโชว์ Take me out Thailand”,วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2559.
10 นิธิ เอียวศรีวงศ์, “โขน, คาราบาว, น้ำเน่า และหนังไทย – ว่าด้วยเพลง ภาษา และนานามหรสพ”. สำนักพิมพ์มติชน. กรุงเทพฯ. 2538.
11 ฐิติวัฒน์ สมิตินันท์ “การสร้างตัวละครเพศที่สามในภาพยนตร์ไทย” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการภาพยนตร์,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2553.
12 ชนากานต์ เครือรัตนไพบูลย์, “การวิพากษ์สื่อในชุมชนออนไลน์ ของห้องเฉลิมไทย พันทิปดอทคอม”วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวารสารสนเทศ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.