ยุทธศาสตร์การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในคดีอาญาในเขตศาลภาค 5

Main Article Content

บรรจบ ถาวรรัตน์
ขวัญฤทัย ศิริพัฒนโกศล

บทคัดย่อ

               การศึกษาวิจัยเรื่อง “ยุทธศาสตร์การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในคดีอาญาในเขตศาลภาค 5” มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในคดีอาญาในเขตศาลภาค 5 โดยการวิจัยแบบผสมผสาน คือ การวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาจากเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มผู้ที่ทำงานด้านกระบวนการยุติธรรมในเขตศาลภาค 5 ประกอบด้วยผู้พิพากษา  พนักงานอัยการ  พนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ทนายความ กลุ่มนักวิชาการด้านกฎหมายและบุคลากรองค์กรพัฒนาเอกชน และกลุ่มผู้เสียหาย  รวมจำนวน 37 คน และการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากประชากรที่ทำงานในศาลจังหวัด ศาลแขวง และ    ศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตศาลภาค 5 จำนวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้พิพากษา  และกลุ่มนิติกร ได้แก่ กลุ่มนิติกรส่วนงานบริการประชาชนและประชาสัมพันธ์ และส่วนงานไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท จำนวนรวม 246 คน  ผลการวิจัยพบว่า ควรกำหนดยุทธศาสตร์ในการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย รวม 5 ด้าน คือ ด้านตัวบทกฎหมายและนโยบาย ด้านพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านการบังคับใช้กฎหมาย  ด้านสังคมและการตระหนักรู้ของสังคม  ด้านฐานข้อมูล        

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สุทธิมา พิพัฒน์พิบูลย์,“การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย ในคดีอาญา:ศึกษาระบบการคุ้มครองตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540,” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตย์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.

สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์,“การคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายในกระบวนยุติธรรมทางอาญา,”รายงานการวิจัย,สำนักงานศาลยุติธรรม, 2559.

ประชา งามลำยวง, “ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงานของศาลอุทธรณ์,”วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 2559.

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ร่วมกับสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,“การพัฒนากฎหมาย และมาตรการในการช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิและเสรีภาพและ จากการกระทำความผิดทางอาญา,” เอกสารประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็น, กระทรวงยุติธรรม, ม.ป.ป.

ชนะรัตน์ ผกาพันธ์, “มาตรการคุ้มครองสิทธิของ ผู้เสียหายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของ ประเทศไทย,”สารนิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2560.

นพพร วิวัฒนาภรณ์, “ปัญหาการเข้าถึงสิทธิของ ผู้เสียหายในคดีอาญา,รายงานส่วนบุคคล,” สำนักงานศาลยุติธรรม,2555.

ณรงค์ ใจหาญ.( 31 มีนาคม 2559).การเยียวยา เหยื่อจากคดีอาญา:ความช่วยเหลือที่มากกว่าค่า ทดแทน.สืบค้นจาก

https://siamrath.co.th/web/?q=/Eo/

วุฒิพงศ์ วิบูลย์วงศ์, “หลักนิติธรรมกับการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญา,”เอกสารส่วนบุคคลรายงานการฝึกอบรมหลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 1, ศาลรัฐธรรมนูญ,2556.

สมัชชาปฏิรูปเอกสารหลักสมัชชาปฏิรูปเฉพาะประเด็ประเด็น,น,“การปฏิรูปกองทุนยุติธรรม เพื่อสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำ,” เอกสารหลัก,วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2556 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น,กรุงเทพมหานคร,2556.

มูฮัมหมัดรอฟีอี มุซอ, “สิทธิของเหยื่ออาชญากรรมกับการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทย,”วารสาร อัล-ฮิกมะฮมหาวิทยาลัยฟาฏอนี,ปีที่ 6, ฉบับที่ 11, หน้า 71-77, 2559.

ศรัณย์ ทองห่วง, “แนวทางพัฒนาประสิทธิภาพในการเยียวยาผู้เสียหายในกระบวนการยุติธรรมของ ประเทศไทย:กรณีศึกษาพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544,” รายงานการค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต,2558.

วัลลภ นาคบัว,“แนวทางการพัฒนากฎหมาเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมไทย,” เอกสารส่วนบุคคล,หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 58, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2559.