เมื่อสื่อพยายาม “ปรุง” เรื่องชายรับชายให้เป็นสินค้า

Main Article Content

เบญจรงค์ ถิระผลิกะ

บทคัดย่อ

                บทความชิ้นนี้นำเสนอการ “ปรุง” ของสื่อให้เรื่องราวทางเพศกลายเป็นสินค้า การทบทวนวรรณกรรมที่มีผู้ศึกษาก่อนหน้าว่าในอดีตเรื่องราวของเพศนอกกลุ่มศึกษาอะไร และได้ผลการศึกษาว่าอย่างไร เมื่อเปรียบเทียบกับปัจจุบันในภาพยนตร์และซีรีย์ต่าง ๆ ผ่านแนวคิดเรื่องเพศนอกกลุ่ม เรื่องทุน เรื่องการปรุงภาพแทน เรื่องอำนาจ และสุดท้ายคือการเหมารวมจากภาพที่ตนเองเป็นผู้รับรู้และตีความ โดยพยายามทำให้เห็นว่าเมื่อสื่อปรุงแนวคิดเรื่องเพศให้เป็นสินค้า เมื่อทั้งหมดถูกรับรู้ไปในมุมมองนั้นการพยายามทำให้ร่างกลายเป็นสินค้าทางเพศ หรือวัตถุทางเพศที่ผู้ปรุงรายใดมีทรัพยากรมากก็จะพยายามปรุงและยัดเยียดแนวคิดนี้ให้กับคนในสังคม เมื่อผู้ชมหรือผู้บริโภครับรู้แล้วก็จะเริ่มการตีความว่าเมื่อไหร่ก็ตามพบเจอกับกลุ่มคนเพศนอกกลุ่มก็จะเหมารวมว่าพวกเขาทั้งหมดเป็นแบบนี้ ยิ่งเป็นการนำเสนอเรื่องที่ผลิตซ้ำย้ำเพศวิถีแบบรักต่างเพศเป็นใหญ่ โดยไม่ได้เปิดรับความจริงหรือความเป็นไปอีกด้านหนึ่งเลย


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

เบญจรงค์ ถิระผลิกะ, สาขาการสื่อสาร คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร

 

 

 

References

เพ็ญมาส กำเหนิดโทน, “การยอมรับของครูต่อนักเรียนเกย์ : ศึกษากรณีข้าราชการครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร 6 โรงเรียน,” วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2528.

กิ่งรัก อิงคะวัต, “รูปแบบการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการบริโภค และพฤติกรรมการเปิดรับสื่อของกลุ่มชายรักชาย (เกย์) ในเขตกรุงเทพมหานคร,” วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.

รวมพล สายอรุณ, “ภาพลักษณ์เกย์ในสายตานักศึกษา,” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษย วิทยามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541.

จารุพงศ์ สายะโสภณ, “การยอมรับของอาจารย์ต่อนักศึกษาที่เป็นเกย์ : กรณีศึกษาอาจารย์ในสถาบันราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์,” วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์เพื่อ การพัฒนามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 2546.

เศรษฐวัช พัฒน์สุวรรณ, “ผลกระทบต่อพ่อแม่ด้านจิตใจและสังคมกรณีลูกเป็นเกย์,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 2548.

ประภาศรี จีระยิ่งมงคล, “เกิดมาเพื่อเป็นเกย์,” วิทยานิพนธ์พยาบาลมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, 2549.

รัตนา ทรัพย์สงวน, “ภาพลักษณ์ของกลุ่มชายรักชายในสายตานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553.

วาสนา ห่วงรักษ์, “วิถีชีวิตคู่ของเกย์ในกรุงเทพมหานคร,” วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 2547.

บงกชมาศ เอกเอี่ยม, “เกย์ : กระบวนการพัฒนาและธำรงเอกลักษณ์รักร่วมเพศ,” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2532.

สทาศัย พงศ์หิรัญ, “การบริหารจัดการนิตยสารสำหรับเกย์,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.

ทศวร มณีศรีขำ, “การสร้างความเป็นอื่นให้กับเกย์,” วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2545.

อนันต์ นาวิไล, “กระบวนการการกลายมาเป็นผู้ชายขายตัว : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้ชายขายตัว ให้เกย์ในกรุงเทพมหานคร,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2537.

ชินวร ฟ้าดิษฐ์, “เว็บไซต์เกย์ : พื้นที่สาธารณะสำหรับคนชายขอบ,” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556.

กฤช เตชะประเสริฐ, “พฤติกรรมการท่องเที่ยวของกลุ่มชายรักชาย (เกย์) ที่อาศัยในเขตจังหวัดขอนแก่น,” วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2556.

ธีระ บุษบกแก้ว, “กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่ม เกย์ออนไลน์,” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.

ชญาณัฐฏภัสร์ ซ่อนกลิ่น, “วิถีชีวิตชายขายตัวในบาร์เกย์ย่านสุรวงศ์ กรุงเทพมหานคร,” วิทยานิพนธ์พัฒนสังคมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556.

Sarupong Sutprasert, “Discourse of gay dance music in the context of contemporary Bangkok,” (THE DEGREE OF MASTER OF ARTS (MUSIC), Mahidol University, 2010.

ศรัณย์ มหาสุภาพ, “การสร้างอัตลักษณ์เกย์ในงานเขียนแนวอัตชีวประวัติเกย์ร่วมสมัย,” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.

ปุรินทร์ นาคสิงห์, “เกย์ : กระบวนการพัฒนาเอกลักษณ์และวิถีชีวิตทางเพศ,” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.

นที ธีระโรจนพงษ์, “ความสนใจทางการเมืองไทยของกลุ่มชายรักชาย (เกย์) ในอำเภอเมืองเชียงใหม่,” วิทยานิพนธ์สังคมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551.

ธิดารัตน์ พุทธอาสน์, “การศึกษากระบวนการออกแบบเครื่องแต่งกายที่สะท้อนอัตลักษณ์เกย์,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, 2551.

อภิญญา เสียงสืบชาติ, “การพัฒนาเว็บท่าสำหรับสังคมเกย์ชาวไทย,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2552.

พจมาน มูลทรัพย์, “เรื่องเล่าของเกย์ในชุมชนวรรณกรรมออนไลน์ : กรณีศึกษากลุ่ม,” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.

จตุพร บุญ-หลง, “ชีวิตติดเบอร์ : ตัวตนและเพศวิถีของเกย์ "ควิง" ในเซานา M,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, “ขบวนการเคลื่อนไหวของเกย์ในสังคมไทยภาคปฏิบัติการและกระบวนทัศน์,” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.

รวิสรา ศรีวัฒนวรชัย, “การศึกษาชีวิตของชายขายบริการทางเพศในสถานบริการบาร์เกย์เขตเมืองพัทยาจังหวัดชลบุรี,” วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา, 2544.

กฤตณัฐ เพ็งชัย, “การศึกษาวิถีชีวิตของเกย์,” วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2559.

เอกศาสตร์ สรรพช่าง, “คาราโอเกะคลับ : พื้นที่และตัวตนของเกย์อ้วน,” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

เนติ สุนทราวราวิทย์, “การสร้างความหมายและตัวตน "เกย์" ในพื้นที่แห่งความเป็นจริงและพื้นที่ไซเบอร์,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2556.

ธานี ชื่นค้า, “ศึกษาอัตลักษณ์ของเกย์ในสื่อภาพยนตร์ไทย,” วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 2555.

จิรันธนิน กิติกา, “พื้นที่แห่งการซ่อนอำพรางในบาร์โชว์เกย์ย่านสันติธรรม จังหวัดเชียงใหม่”, วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต,” มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556.

ณัฐพล แก้วเกิด, “นักศึกษาเกย์กับอาชีพพนักงานนวดในสปาเกย์,” วิทยานิพนธ์สังคมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556.

ญาณาธร เจียรรัตนกุล, “YAOI : การ์ตูนเกย์โดยผู้หญิงเพื่อผู้หญิง,” วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

ปราชญา เทพเทวิน, “การใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อแสดงตัวตนทางสังคมของกลุ่มเกย์ในจังหวัดเชียงใหม่ กรณีศึกษา facebook Page,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2558.

เบญจรงค์ ถิระผลิกะ, “ปัจจัยที่สนับสนุนการสร้างสรรค์เนื้อหาเพศนอกกรอกในภาพยนตร์เรื่อง "รักแห่งสยาม" ของมะเดี่ยว ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559.

ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2556.

Hall, S. (Ed.)., “Representation: Cultural representations and signifying practices,” (Vol. 2) Sage, 1997

ธเนศ วงศยานนาวา, “ภาพตัวแทน: แทนสิ่งที่แทนไมได,” จุลสารไทยคดีศึกษา, ปีที่ 12 ฉบับที่ 1, 2538, หน้า. 16-18.

กาญจนา แก้วเทพ; สมสุข หินวิมาน, สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับ สื่อสารศึกษา, ภาพพิมพ์, 2551.

ไชยศิริ บุญยกุลศรีรุ่ง, “เพศสภาพและเพศวิถีชายรักชายในภาพยนตร์ไทย,” วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.

เบญจรงค์ ถิระผลิกะ, “นักสร้างสรรค์การตลาดในยุคเรืองของเพศนอกกรอบ,” วารสารการสื่อสารมวลชน คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 5, ฉบับที่ 2, 2560, หน้า. 115-143.

จเร สิงหโกวิน, ถอดผ้าขายร่างในละครสาววาย ใน ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ (บรรณาธิการ), ชุดสังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย ลำดับที่ 6 เมื่อร่างกลายเป็นเพศ อำนาจเสรีนิยมใหม่ของเพศวิถีในสังคมไทย, หน้า. 115-186, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน), 2560.

ปุรินทร์ นาคสิงห์ และธาตรี ใต้ฟ้าพูล, “การประกอบสร้างตัวตนเกย์ในภาพยนตร์ไทย,” วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 39, ฉบับที่ 2, 2556, หน้า. 35-53.

Headland, T. N., Pike, K. L., & Harris, M. E. (1990). Emics and etics: “The insider/ outsider debate. In This book had its genesis at a symposium of the 87th Annual Meeting of the American Anthropological Association in Phoenix,” Arizona, on Nov 19, 1988. Sage Publications, Inc.

Foucault, M, The history of sexuality: An introduction, volume I, Trans. Robert Hurley. New York: Vintage, 1990.

เทพ หลีนวรัตน์, “การสื่อสารกับการสรางเรือนรางบุรุษเพศในยุคสังคมบริโภค: ศึกษากรณีนายแบบ นักแสดงชาย และนักรองชาย,” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.

The MATTER, (30 สิงหาคม 2560) คุยกับ ‘โจโจ้ ทิชากร ภูเขาทอง’ ผู้กำกับ GAY OK BANGKOK ซีรีส์แง่มุมธรรมดาๆ ของเกย์, สืบค้นเมื่อ, สืบค้นจาก https://thematter.co/rave/does-being-gay-ok-in-bangkok/20410.

Attitudethai, (30 สิงหาคม 2560), INTERVIEW | GAY OK BANGKOK, สืบค้นจาก http://attitudethai. com/post/rlPGJs4-interview-gay-ok-bangkok/2.

เบญจรงค์ ถิระผลิกะ ว่าที่ร้อยตรี, “ธรรมชาติของความคิดสร้างสรรค์: กรณีศึกษาการสร้างภาพยนตร์เรื่อง “รักแห่งสยาม,” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีที่ 20 ฉบับที่ 1, 2560, หน้า. 336-378.