สภาพปัญหาที่ก่อให้เกิดอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ กรณีการร่วมกันฉ้อโกง ประชาชนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่

Main Article Content

ปัณณธร หอมบุญมา

บทคัดย่อ

                การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาที่ก่อให้เกิดอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ กรณีการร่วมกันฉ้อโกงประชาชนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 37 คน ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาที่ก่อให้เกิดอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ กรณีการร่วมกันฉ้อโกงประชาชนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เกิดขึ้นจาก 3 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) ปัจจัยส่วนบุคคล 2) ปัจจัยด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3) ปัจจัยด้านกฎเกณฑ์และมาตรการกำกับดูแลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (8 มิถุนายน 2562). ตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่. สืบค้นจาก http://www.nbtc.go.th/ getatta chment/Business/ commu/telecom/ตลาดโทรคมนาคม/ตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่/pdf.aspx.

2. วีรพงษ์ บุญโยภาส และสุพัตรา แผนวิชิต, “อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ” กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2557

3. กรมสอบสวนคดีพิเศษ. (25 พฤศจิกายน 2561).เตือนภัยกลุ่มมิจฉาชีพการหลอกลวงทางโทรศัพท์ (แก๊งค์คอลเซ็นเตอร์).สืบค้นจาก https://dsi.go. th/View?tid=T000151.

4. วันชัย รุจนวงศ์, “ผ่าองค์กรอาชญากรรมมะเร็งร้ายของสังคม” กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2548

5. สุดสงวน สุธีสร, “อาชญาวิทยา”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554.

6. ปกรณ์ มณีปกณ์, “ทฤษฎีอาชญาวิทยา”, กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดเวิลด์เทรดประเทศไทย, 2555.

7. พรชัย ขันตี, “ทฤษฎีอาชญาวิทยา: หลักการงานวิจัยและนโยบายประยุกต์”, สุเนตรฟิล์ม, 2553.

8. สาโรจน์ กล่อมจิต, “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร”วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรสาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, สถาบันราชภัฏจันทร์เกษม, 2547.

9. กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ. (1 พฤษภาคม 2562). เตือนภัยแก๊งค์ Call Center แอบอ้างเป็นตำรวจ บก.ปอศ. สืบค้นจาก https://www.edpolice.com/Index.php?modules=news&f=view&nes CatID=1&newx_id=63.

10. สุพัตรา แผนวิชิต, “การจัดการความรู้เกี่ยวกับการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม”, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 36, ฉบับที่ 1, 2559, หน้า. 99-110.

11. วีรพงษ์ บุญโยภาส และสุพัตรา แผนวิชิต, “อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ” กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2557

12. พงษ์ธร ธัญญสิริ, “บทบาทของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมในการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมทางอาญาเชิงบูรณาการ”, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, ปีที่ 1, ฉบับที่ 1, 2552, หน้า 201-211.

13. ชิตพล กาญจนกิจ, “ความท้าทายของรัฐอาเซียนในการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์” วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 46, ฉบับที่ 1, 2559, หน้า 51-77.

14. ณรงค์ กุลนิเทศ, “รูปแบบและมาตรการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมไซเบอร์” การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ 2558, หน้า 224-237

15. พรรณชฎา ศิริวรรณบุศย์, “แนวทางการปฏิรูประบบงานสอบสวนของตำรวจไทย” วารสาร สังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ, ปีที่ 46, ฉบับที่ 2, 2559, หน้า 131-146.

16. ชรินทร์ โกพัฒน์ตา, “คู่มือการบริหาร การป้องกันและควบคุมอาชญากรรมคดีประเภทประทุษร้ายต่อทรัพย์ธนาคารร้านทอง”, วิทยาลัยการตำรวจกองบัญชาการศึกษาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ, 2557.

17. พรชัย ขันตี, “ทฤษฎีอาชญาวิทยา: หลักการงานวิจัยและนโยบายประยุกต์”, สุเนตรฟิล์ม, 2553.

18. สุดสงวน สุธีสร, “อาชญาวิทยา”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554.