การเรียนรู้ทักษะชีวิตภายใต้ความปกติใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ทักษะชีวิตภายใต้ความปกติใหม่ จากการศึกษาพบว่า การเรียนรู้ทักษะชีวิตของบุคคลภายใต้ความปกติใหม่ หมายถึง มนุษย์ทุกคนต้องเรียนรู้ที่จะดำเนินชีวิตอยู่ในสถานการณ์หรือปรากฏการณ์ที่แต่เดิมเป็นสิ่งที่ไม่ปกติ ผู้คนไม่คุ้นเคย ไม่ใช่มาตรฐาน ต่อมามีเหตุหรือเกิดวิกฤติบางอย่าง จึงมีการเปลี่ยนแปลง ทำให้สถานการณ์หรือปรากฏการณ์นั้นกลายเป็นสิ่งที่ปกติและเป็นมาตรฐาน ซึ่งบุคคลจะต้องมีทั้งความรู้และทักษะที่จำเป็น ประกอบด้วย ทักษะทางความคิด ทักษะทางจิตใจ ทักษะทางการกระทำ ทักษะทางสังคม รวมทั้งทักษะการใช้เทคโนโลยี และการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อนำไปใช้ในการปรับตัวและแก้ปัญหา ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนเป็นการเตรียมความพร้อมในอนาคตเพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมโลกที่กำลังเปลี่ยนไปภายใต้ความปกติใหม่ได้อย่างปกติสุข
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
กนกวรรณ สินรัตน์. (2552). ผลการให้คำปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการปรับพฤติกรรมทางปัญญาต่อทักษะชีวิตด้านการ ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
กมลวรรณ จีนหน่อ. (2553). การใช้กิจกรรมการแนะแนวเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตด้านการจัดการ การเรียน เวลา และความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
กรมสุขภาพจิต. (2564). New Skills ของเด็กหลังยุคโควิด-19. สืบค้นจาก https://www.dmh.go.th/about/
จุฬาภรณ์ โสตะ. (2551). กลยุทธ์การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. ขอนแก่น: ภาควิชาสุขศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ไทยพีบีเอส. (2564). ชีวิตวิถีใหม่. สืบค้นจาก https://news.thaipbs.or.th/content/292126
ธนชาติ นุ่มนนท์. (2563). 9 ทักษะที่จำเป็นต่อการทำงานในโลกบุคหลังโควิด. สืบค้นจาก
https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/894727
ประณยา ปันปิน. (2551). โปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการเสพสารระเหย ในนักเรียนประถมศึกษา จังหวัดเชียงราย (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
มูลนิธิเอสซีจี. (2564). Covid-19 ตอกย้ำความสำคัญของทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก
https://www.scgfoundation.org/
วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู. (2557). การวิเคราะห์องค์ประกอบเพื่อการพัฒนาทักษะชีวิตนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในวิทยาลัยนาฏศิลป์ สังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, กรุงเทพฯ.
ศิริพร ชาญประเสริฐ. (2552). ประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้การพัฒนาทักษะชีวิตและการพัฒนาจริยธรรม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนแห่งหนึ่ง อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู (สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ศิริพรรณ สายหงส์. (2554). แนวคิดเรื่องทักษะชีวิตและแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต. สืบค้นจาก http://www.nfe.go.th/0405/NFE-note/SkillLife.html
สภาเศรษฐกิจโลก. (2564). 4 บทเรียน ที่ต้องเตรียมให้เด็กรุ่นต่อไป. สืบค้นจาก
https://www.springnews.co.th/alive/edutainment-alive/639508
อรัญญา ชุติมา. (2553). การจัดการทักษะชีวิตของนักเรียนในโรงเรียนนันทชาติ เกรด สคูล อำเภอ หางดง จังหวัด เชียงใหม่ (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
adecco.co.th. (2563). New Normal Skills: 5 ทักษะจำเป็นที่คนทำงานควรมี. สืบค้นจาก
https://adecco.co.th/th/knowledge-center/detail/new-normal-skills-2020
Paranee Srikham. (2020). 4 ทักษะชีวิตที่เด็กควรได้เรียนรู้ เพื่อปรับตัวในโลกยุคหลัง COVID-19. สืบค้นจาก https://thematter.co/quick-bite/4-life-skills-for-youth-after-covid-19/117614
Workpoint New. (2563). ทักษะการเรียนรู้ยุคใหม่ในโลกหลังโควิด- 9 ที่คนรุ่นใหม่ต้องมี. สืบค้นจาก
https://workpointtoday.com/newskill-covid19/
World Health Organization. (1997). Life skills Education in Schools. Geneva. World Health
Organization.