ภาชีในประวัติศาสตร์ไทย

Main Article Content

ศุภกาณฑ์ นานรัมย์

บทคัดย่อ

ภาชีเป็นชุมชนที่เติบโตจากการเป็นที่ตั้งของ “สถานีชุมทางบ้านภาชี” อันเป็นยุทธศาสตร์การเดินทางเชื่อมระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เดิมชาวภาชีอาศัยอยู่กระจัดกระจายในพื้นที่ ต่อมามีการอพยพของชาวลาวเวียงและลาวอีสานในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่งผลให้เกิดความหลากหลายทางชาติพันธุ์ และสังคมพหุวัฒนธรรม ภาชีเป็นพื้นที่ที่สามารถเชื่อมไปสู่แม่น้ำป่าสักได้ การเป็นชุมทางรถไฟส่งผลต่อการเติบโตของเมือง ภาชียังมีความเกี่ยวพันกับเหตุการณ์ทางการเมืองและเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การขนส่งทางรถไฟหลัง พ.ศ. 2475  ยกตัวอย่างเช่น กบฏบวรเดช กรณีพิพาทอินโดจีน และสงครามโลกครั้งที่ 2

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

การปราบกบฏ, ประชาชาติ (วันอังคารที่ 24 ตุลาคม 2476): 28.

การรถไฟไทย ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤษดากร ณ สุสานหลวงวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2484, โรงพิมพ์กรมรถไฟ, 2484.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ, เที่ยวตามทางรถไฟ, กรมศิลปากร, 2557.

ประชาชาติ (วันศุกร์ที่ 20 ตุลาคม 2476): 1.

ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2542.

ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 2526. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, โรงพิมพ์เทียนวัฒนา, 2521.

ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม 3, โรงพิมพ์การศาสนา, 2527.

ผู้พิชิตสมรภูมิบางเขนด้วยกระสุน ป.ต.อ. เพียง 9 นัด, วารสารศิลปวัฒนธรรม., ปีที่ 26, ฉบับที่ 11, 71, 2548.

มรกต เจวจินดา, ภาพลักษณ์ ปรีดี พนมยงค์ กับการเมืองไทย พ.ศ. 2475-2526, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.

รวมเรื่องแปลหนังสือและเอกสารทางประวัติศาสตร์ ชุดที่ 4, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรมศิลปากร, 2555.

ลูอีส ไวเลอร์, กำเนิดการรถไฟในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2 โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.

หลวงพิบูลกลับจากเพ็ชร์ ไปตีปากช่องคุมทัพรัฐบาลออกจากภาชี ค่ำวันก่อนทหารเรืออาสาไปแนวหน้ากับฝ่ายบก,

ส.พลายน้อย, แม่น้ำลำคลอง, มติชน, 2555.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. มท.5/101 เอกสารกระทรวงมหาดไทย กรมมหาดไทย ที่ 527/2484 ลงวันที่ 18 เมษายน 2484

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. มท.2.2.5/463 เอกสารกระทรวงมหาดไทย กองกลาง ที่ ม.15324/2484 ลงวันที่ 13 ตุลาคม 2484

อ็องรี มูโอต์, บันทึกการเดินทางของอ็องรี มูโอต์ ในราชอาณาจักรสยาม กัมพูชา ลาว และอินโดจีนตอนกลางส่วนอื่น ๆ, พิมพ์ครั้งที่ 2 มติชน, 2558.

เมธินีย์ ชอุ่มผล, ที่นี่ ... สถานีชุมทางภาชี, วารสารเมืองโบราณ., ปีที่ 43, ฉบับที่ 1, หน้า 68-77, 2560.

28 พฤศจิกายน 2483 ฝรั่งเศสบอม์บนครพนม เปิดฉากสงคราม “กรณีพิพาทอินโดจีน”. (25 เมษายน 2564).สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/this-day-in-history/article_23602