การบริหารจัดการกิจกรรมปั่นจักรยานส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

พงษ์ศักดิ์ พัวพรพงษ์
บังอร โกศลปริญญานันท์
ราณี จีนสุทธิ์
หทัยภัทร จีนสุทธิ์

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการกิจกรรมปั่นจักรยานส่งเสริมการท่องเที่ยว        ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการ กิจกรรมปั่นจักรยาน การท่องเที่ยว และนำเอาข้อมูลจากกิจกรรมปั่นจักรยานเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาวิเคราะห์องค์ประกอบที่เป็นการบริหารจัดการในการใช้จักรยานเพื่อการท่องเที่ยวให้เป็นกิจกรรมดีๆ กิจกรรมหนึ่งที่ทำให้มีผู้คนหันมานิยมทำกิจกรรมปั่นจักรยานมากขึ้น องค์ประกอบการบริหารจัดการกิจกรรมปั่นจักรยานส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบด้วย การประชาสัมพันธ์ รูปแบบ ความเหมาะสมของสถานที่ การจัดเส้นทาง และการอำนวยความสะดวกและดูแลระหว่างการจัดกิจกรรมของทีม Staff องค์ประกอบต่างๆ เหล่านี้มีความสำคัญอย่างมาก     มีความท้าทายและมีความจำเป็นเพื่อนำไปสู่การเสนอแนวทางในการบริหารจัดการกิจกรรมปั่นจักรยานส่งเสริม        การท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาอย่างเป็นระบบ และใช้เป็นแนวทางสำหรับพื้นที่ต่างๆ ที่สนใจนำไปใช้ใน         การพัฒนากิจกรรมปั่นจักรยานส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2550). Definition Domestic. สืบค้น 20 กันยายน 2563, จาก http://www2.tat.or.th/stat/web/static_tst.php.

เกษม จันทร์แก้ว. (2540). โครงการสหวิทยาการบัณฑิตศึกษา สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ณัฐวัชร จันทโรธรณ์. (2563). การบริหารการพัฒนาองค์การ. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ทวีศักดิ์ พระนคร. (2563). ปั่นชิว ๆ ชมกรุงเก่า 60 โล. พระนครศรีอยุธยา: ศูนย์เรียนรู้ Toyota เมืองสีเขียว อยุธยา.

ธนรัตน์ รัตนพงศ์ธระ , เสรี วงษ์มณฑา, ชุษณะ เตชคณา และณัฐพล ประดิษฐผลเลิศ. (2561). ศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล-ศรีวิชัย. 10(1), 65-80.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์.

สมคิด บางโม. (2545). องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน์.

สมาภรณ์ คงเจริญกาย. (2548). พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้เข้ามาท่องเที่ยวที่มีผลต่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว. (2557). ความหมายการท่องเที่ยว. สืบค้น 26 กันยายน 2563, จาก http://www.tourismmatbuu. wordress.com.

สุธดี ชิดชอบ. (2548). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวในเกาะช้าง จังหวัดตราด. ชลบุรี: รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุวัช วาณิชย์วิรุฬห์. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนแม่บทเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนเกาะเกร็ด อำเภอเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารจันทรเกษมสาร. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 25(1), 31-44.

อดิเรก อุ่นเจริญ และพลเดช เชาวรัตน์. (2558). ระบบจักรยานเพื่อการท่องเที่ยว กรณีศึกษา : อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “สร้างสรรค์และพัฒนาเพื่อก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน” ครั้งที่ 2. วิทยาลัยนครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา.

แอดมิน. (2563). สาระบทความจักรยาน. กรุงเทพมหานคร: ชัยไบค์ เฟด.
Bicycle. (2563). ประโยชน์ของการปั่น. สืบค้น 20 กันยายน 2563, จาก http://sites.google.com

DeCenzo, david A. & Robbins, Stephen P. (2004). Human Resource Management. 6th ed. New York: John Wiley & Sons, Inc.
Samuel C. Certo. (2003). Modern Management. New Jersey: Prentice Hall.

Schermerhorn, John R. (1999). Management. 6th ed. New York: John Wiley & Sons, Inc.

ThemeGrill. (2020). กิจกรรมท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่น่าสนใจจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สืบค้น 20 กันยายน 2563, จาก http://www tamdoo.com