ปัจจัยเชิงคุณภาพของระบบงานสารบรรณช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีต่อองค์กรต่างประเทศ

Main Article Content

นันทวดี อุ่นละมัย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการ เรื่อง ปัจจัยเชิงคุณภาพของระบบงานสารบรรณช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีต่อองค์กรต่างประเทศ นับเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานสารบรรณให้เป็นระบบระเบียบและเป็นการอาศัยวิธีการหนึ่งที่จะช่วยให้การดำเนินการขององค์กรบรรลุเป้าหมายด้านการปฏิบัติงานเอกสารในระบบสารบรรณขององค์กรต่าง ๆ และเพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีต่อองค์กรต่างประเทศ สามารถประยุกต์ใช้การส่งเสริมคุณภาพของการดำเนินงานได้จาก (1) การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ (2) ดำเนินการการวิเคราะห์เชิงมูลค่าขององค์กรสู่การแข่งขัน และ (3) การสร้างมาตรฐานบริหารระบบงานสารบรรณ การดำเนินงานโดยอาศัยระบบงานสารบรรณเป็นงานที่มีอยู่ในส่วนราชการทุกแห่ง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จรัส ปันธิ. (2547). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสารบรรณของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จารุวรรณ มินดาทอง, และปณัทพร เรืองเชิงชุม. (2564). การลดความสูญเปล่าจากการใช้ข้อมูลในการจัดเก็บเอกสารให้เป็นระบบในยุคดิจิทัล 4.0 โดยการประยุกต์ใช้หลักการ ECDES ร่วมกับโซ่อุปทาน. วารสารบริหารธุรกิจศรีนคริทรวิโรฒ. 12(1), 20-37.

จิดาพัชญ์ เกสรจันทร์. (2564). ความรู้เกี่ยวกับงานสารบรรณ. https://sites.google.com/site/clericalworkskafmon/khwam-sakhay-khxng-ngan-sarbrrn

ชเนตตี จาตุรนต์รัศมี. (2559). ทัศนคติที่มีต่อการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยาครั้งที่ 7 “วิจัย สร้างองค์ความรู้ใหม่ รับใช้สังคม”, 7-8 กรกฎาคม 2559. (น.198-204). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ชเนตตี พุ่มพฤกษ์, และนฤมล อนุสนธิ์พัทธ์. (2563). ศักยภาพและความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์. 22(1), 133-144.

ทศพร โปมิ่ง. (2563). การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานด้านสารบรรณของสำนักงานระบบขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร.

นเรศ เหล่าพรรณราย. (2560). แนวโน้ม Digital marketing ปี 2017. http://www.sanook.com/money/451083/

นันทสารี สุขโต และคณะ. (2558). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.

พงศ์สวัสดิ์ ไชยบุตร. (2564). การพัฒนางานสารบรรณของกลุ่มงานอาคารสถานที่และบริการมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารช่อพะยอม. 32(2), 99-199.

วิราพร หงส์เวียงจันทร์. (2560). การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหาและการเขียนรายการอ้างอิง. ปทุมธานี: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิริพร จงประเสริฐ. (2546). ความต้องการและปัญหาของผู้ใช้ระบบสารสนเทศในงานสารบรรณ คณะเกษตรศาสตร์. เชียงใหม่: คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิริลักษณ์ หวังชอบ, วิจิตรา โพธิสาร,วาฤทธิ์ นวลนาง, สุวัฒน์ กล้วยทอง และธงชัย เจือจันทร. (2563). ปัจจัยเชิงคุณภาพของระบบงานสารบรรณช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีต่อองค์กรต่างประเทศ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 8(1), 278-298.

สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม. กองกลาง (2561). คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์.กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม.

สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2563). โครงการพัฒนาและปรับปรุงระบบสารบรรณอิเล็กรอกนิกส์. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย.

อภิญญา กลิ่นบัว. (2558). คู่มือการปฏิบัติงานสารบรรณ สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยาบริการ. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

Graham, B., & David Dodd, D. L. (2019). Security analysis: Principles and technique. (6th ed.). New York: McGraw. Hill.

Mohammad Syahidul Haq, Nur Aini Dwi Setyowati. (2021). Development of codeigniter-based e-office applications. In 3rd International Conference on Research and Academic Community Services (ICRACOS). (pp.269-274). https:// DOI: 10.1109/ICRACOS53680.2021.9702034