การเห็นอกเห็นใจ: ศิลปะแห่งการอยู่ร่วมกัน

Main Article Content

อิชยา จีนะกาญจน์
ชุลีวัลย์ รักษาภักดี

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการเห็นอกเห็นใจการตระหนักรู้ในตนเองและผู้อื่นผ่านทางความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ประกอบด้วยเทคนิคการสร้างความเห็นอกเห็นใจด้วยตนเอง ครอบครัว สถาบันการศึกษา และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม การฝึกฝนและส่งเสริมการเห็นอกเห็นใจด้วยแผนผังการเห็นอกเห็นใจ เพื่อรับรู้ เข้าใจ และแบ่งปันความคิด ความรู้สึกของบุคคลอื่น เสมือนกับการเอาตัวเองเข้าไปอยู่ในสถานการณ์เดียวกันกับบุคคลนั้น สามารถเข้าใจมุมมองและควบคมตนเองได้ ซึ่งการเรียนรู้และรับฟังผู้อื่นอย่างจริงใจ เรียนรู้เพื่อให้โอกาสผู้อื่นได้แบ่งปันประสบการณ์ การแลกเปลี่ยนความคิด การร่วมกิจกรรม นอกจากนั้นสามารถช่วยเหลือคนรอบตัวให้เกิดมุมมองเชิงบวกจากการทบทวนความรู้สึกของตนเอง การพัฒนาตนเอง การบริหารจัดการความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม อันนำไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสมดุลและมีความสุข

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชัยทวี เสนะวงศ์. (2564). People Management: Next Normal. https://www.khonatwork.com/post/people-management-next-normal

ธีรพัฒน์ วงศ์คุ้มสิน. (2564). การพัฒนาความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นของนิสิตจิตวิทยามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยโปรแกรมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 47(1), 75-98.

ปวรี กาญจนภี. (2556). การพัฒนาความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นของนักศึกษา คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม โดยใช้วิดีทัศน์การเรียนรู้จากตัวแบบสัญลักษณ์. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 3(3), 21-26.

มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก. (2563). สอนลูกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น. https://www.thaichildrights.org/articles/article-tip/info-graphic-empathy/#

อัตนัยทีม (Attanai Team). (2565). ความเห็นอกเห็นใจเป็นเรื่องที่ต้องสอนในชั้นเรียน หรืออยู่ใน DNA ของมนุษย์. https://www.attanai.com/learning-ideas/empathy-must-taught-or-in-dna/

Cherry, K. (2023). What is empathy?. https://www.verywellmind.com/what-is-empathy-2795562.

Cuff, B. M., Brown, S. J., Taylor, L., & Howat, D. J. (2016). Empathy: A review of the concept. Emotion Review, 8(2), 144-153.

Davis, M. H. (1983). Measuring individual differences in empathy: Evidence for a multidimensional approach. Journal of Personality and Social Psychology, 44(1), 113–126.

Gardner, H. (2002). Interpersonal communication amongst multiple subjects: A study in redundancy. Experimental Psychology, 10, 72-80.

Goleman, D. (1998). Working with emotional intelligence. Bantam Books.

Gray, D. (2017). Updated empathy map canvas. https://medium.com/the-xplane-collection/updated-empathy-map-canvas-46df22df3c8

Jeffrey, D. (2016). Empathy, sympathy and compassion in healthcare: Is there a problem? Is there a difference? Does it matter?. Journal of the Royal Society of Medicine, 109(12), 446–452.

ลีเวย์ (Leeway). (7 กันยายน 2564). Empathy Map เครื่องมือช่วยในการเข้าใจลูก. [อินโฟกราฟิก]. เฟซบุ๊ก. https://www.facebook.com/leeway.th/photos/pb.100057441219453.-2207520000./ 1005956176643938/?type=3

Loannidou, F., & Konstantikaki, V. (2008). Empathy and emotional intelligence: What is it really about. International Journal of Caring Sciences, 1(3), 118-123.

เออร์บินเนอร์ (Urbinner). (2565). วิธีการฝึกเอาใจเขามาใส่ใจเราด้วย Empathy Mapping. https://www.urbinner.com/post/practice-empathy-by-empathy-mapping

Wallace, J. (2020). The new normal: A neopolitical turn in China’s reform era. In K. Koesel, V. Bunce, & J. Weiss (Eds.), Citizens and the state in authoritarian regimes: Comparing China and Russia. Oxford University Press.