การพัฒนาการเมืองเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาในประเทศ

Main Article Content

สมปอง สุวรรณภูมา
บุญเพ็ง สิทธิวงษา
อาทิตย์ แสงเฉวก
หทัยวรรณ ธัญญพาณิชย์

บทคัดย่อ

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาการเมืองเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาในประเทศ การพัฒนาทางการเมืองปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองเพราะการพัฒนาการเมืองนั้น ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งสังคมโลกและสังคมไทย มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยแต่ละด้านเชื่อมโยงกันตลอดเวลาและส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่นักวิชาการให้ความหมายไว้ต่างกันการพัฒนาการเมือง คือผลที่เกิดขึ้นจากการกระทำระหว่างองค์ประกอบทางการเมืองด้วยกระบวนการต่างๆ ถือว่าเป็นองค์ประกอบทางการเมืองและการกระทำเช่นนี้ ทำให้เกิดผลการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งเดิมๆ ไปสู่สิ่งใหม่ๆ และสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นนี้ต้องดีกว่าสิ่งเดิม ประชาชน และกลุ่มของประชาชนสังคมการเมือง ระเบียบ กลไกหรือเครื่องมือของรัฐ สังคม และเศรษฐกิจ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชูเกียรติ ลีสุวรรณ์. (2545). ระบบการเรียนรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นภาคเหนือ. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2555). การบริหารการพัฒนา : ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปัญหา. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระบุญเพ็ง สิทธิวงษา, พระรัฐพงษ์ สิงห์สาธร, สันชัย พรมสิทธิ์, มงคล ศรีแสง. (2563). บทบาทของพระสงฆ์ กับการพัฒนาทุนมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 9(1). 95-102.

พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ. (2555). การบริหารพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : จรัญการพิมพ์.

วิฑูรย์ ภูนุช. (2548). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยรามคำแหง.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์. คณะรัฐศาสตร์ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2548). การบริหารงานบุคคลภาครัฐของไทย : กระแสใหม่และสิ่งท้าทาย. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ยุคทอง จำกัด.

สมคิด บางโม. (2548). องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : วิทยพัฒน์.

สมรรัตน์ นิรันดรเกียรติ. (2556). การบริหารความขัดแย้งให้เกิดประโยชน์. กรุงเทพมหานคร :กองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.

A.F.K. Organski. (1965). The Stages of Political Development. New York : Alfred A. Knopf.

FAO. (1984). Marketing Professional Services. New York : Prentice Hall.

Gabriel A. Almond and G. Bingham Powell. (1966). Comparative Politics : A Development Approach. Boston : Little, Brown and Co.

Gabriel. A. Almond and Bingham G. Powell. (1996). Comparative Politics Today : A World View. New York : Harper Collins.

Jame W. Davies. (1980). Public Administration and Development : Notes on Their Relationship. New York : Harper Collins.

Joseph La Pa lombaraand Myron Weiner (eds.). (1966). Political Parties and Political Development. Princeton. N.J. : Princeton University Press.

Lucian W. Pye and Sidney Verba (eds.). (1965). Political culture and Political Development. Princeton. N.J. : Princeton University Press.

Micheal C. Hudson. (1967). A Case of Political Underdevelopment. The University of Chicago Press Journal. 29(4). 821-832.

Weidner, Edward W. (1962). Development Administration : A New Focus for Research. Tennesse : Kingsport Press.