Development, Transition and Agricultural Performance in Asia

Authors

  • Supawat Rungsuriyawiboon Faculty of Economics, Thammasat University

Keywords:

Agriculture, Productivity, Transition countries, Biased technical change, Asia, การเกษตร ผลิตภาพ ประเทศเปลี่ยนผ่าน, การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่เบี่ยงเบน, เอเชีย

Abstract

This study aims to investigate interregional and intercountry differences in terms of the magnitude and direction of agricultural growth in Asian countries. In the paper we give special attention to the transition economies. This study utilizes a parametric output distance function approach to decompose total factor productivity (TFP) growth into its associated components. The paper also examines how input and output intensities shift in response to the adoption of innovations. The most recent Food and Agricultural Organisation (FAO) data set of 27 Asian countries over the period from 1980-2004 is used. Our major finding indicates that Asian countries on average achieved TFP growth at nearly 2 percent per annum. However, there were large differences among the transition countries in terms of the magnitude and direction of TFP growth. Some transition countries such as China and Mongolia exhibited above average growth. Others, such as, Kyrgyzstan, Uzbekistan, Laos, and Vietnam did not do so well.

 

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบและเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการดำเนินการทางการเกษตรของ ประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย โดยมุ่งศึกษาถึงผลการดำเนินการของกลุ่มประเทศเปลี่ยนผ่านในภูมิภาคนี้ แบบจำลอง การประมาณค่าตัวแปรจากฟังก์ชันระยะทางผลผลิตถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้แยกค่าการเติบโตผลิตภาพทางการเกษตร ออกเป็นองค์ประกอบต่างๆ ที่สำคัญ นอกจากนั้น งานวิจัยนี้ยังได้กำหนดแบบจำลองเพื่อใช้ศึกษาถึงผลของการใช้ปัจจัย การผลิตและผลผลิตชนิดต่างๆ ที่ได้ที่ส่งผลต่อการนำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในกระบวนการผลิต โดยงานวิจัยนี้ อาศัยฐานข้อมูลการผลิตทางการเกษตรของประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชียจำนวน 27 ประเทศขององค์กรอาหารและ การเกษตรของสหประชาชาติ ระหว่างปี ค.ศ. 1980-2004 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ค่าเฉลี่ยการเติบโตผลิต ภาพปัจจัยการผลิตรวมทางการเกษตรในทวีปเอเชียมีค่าเท่ากับ 2 เปอร์เซ็นต์ต่อปีระหว่างปี ค.ศ. 1980-2004 ปัจจัยหลัก ที่ส่งผลต่อการเติบโตผลิตภาพทางการเกษตร คือ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี นั่นแสดงว่าประเทศต่างๆ ได้มีการนำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในกระบวนการผลิตเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเติบโตผลิตภาพทางการเกษตรขึ้นในภูมิภาค ผลการศึกษายังแสดงให้เห็นว่าค่าการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวมของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียมีความ แตกต่างกันมาก ประเทศที่แสดงค่าการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวมทางการเกษตรอยู่ในเกณฑ์สูง ได้แก่ ประเทศ จีน และมองโกเลีย ในขณะที่ประเทศคีร์กีซสถาน อุซเบกิสถาน ลาว และเวียดนาม แสดงค่าการเติบโตผลิตภาพปัจจัย การผลิตรวมทางการเกษตรอยู่ในเกณฑ์ตํ่า

Downloads