QUANTITY THEORY OF MONEY: STYLIZED FACTS, MODELING, AND EMPIRICAL EVIDENCE

Authors

  • Prapatchon Jariyapan Faculty of Economics, Chiang Mai University

Keywords:

Quantity theory of money, Money-in-the-utility function, Cash-in-advance, Overlapping generation JEL Codes, E41

Abstract

This paper shows the primary objective and importance of the Quantity Theory of Money (QTM) by reiterating and synthesizing its role in modern macroeconomics through looking at stylized facts, the macro­economic model, and empirical evidence. The stylized facts found from this paper show that there is a strong relationship between the price level and monetary aggregates for most countries worldwide. Also, most modern macroeconomic models, which are based on a microeconomic foundation of money, still produce QTM results. In addition, empirical evidence, in general, states that the long term relationship between money and price more or less entails the QTM, regardless of the monetary policy adopted by the country in question. The causality also runs from money to price, which supports the QTM. Therefore, the QTM remains valid even through a rapid change in the economy.

 

บทความทางวิชาการบทความนี้ชี้ให้เห็นถึงวัตถุประสงค์พื้นฐานและความสำคัญของทฤษฎีปริมาณเงินโดยการ ทบทวนและสังเคราะห์บทบาทของทฤษฎีในเศรษฐศาสตร์มหภาคสมัยใหม่ผ่านข้อเท็จจริง แบบจำลอง และผลการศึกษา เชิงประจักษ์ ข้อเท็จจริงที่ค้นพบในบทความฉบับนี้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่แข็งแรงระหว่างระดับราคาและปริมาณเงิน เกือบทุกประเทศทั่วโลก และแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์มหภาคเกือบทั้งหมดที่มีพื้นฐานจากเศรษฐศาสตร์จุลภาค ยังให้ผลตามทฤษฎีปริมาณเงิน นอกจากนั้นผลการศึกษาเชิงประจักษ์โดยทั่วไปยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระยะยาว ระหว่างเงินและราคาซึ่งมาจากทฤษฎีปริมาณเงินโดยไม่ขึ้นอยู่กับนโยบายการเงินที่ใช้ในประเทศ การเป็นเหตุเป็นผล ยังเริ่มจากปริมาณเงินเป็นเหตุที่ส่งผลต่อราคาซึ่งสนับสนุนทฤษฎีปริมาณเงิน ดังนั้นทฤษฎีปริมาณเงินก็ยังเป็นจริงอยู่ ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

Downloads