ระเบียบวิธีการของ DATA ENVELOPMENT ANALYSIS (DEA) และการวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิค
Keywords:
DEA, ประสิทธิภาพ, โปรแกรมเชิงเส้น, Data Envelopment Analysis, Efficiency, Linear ProgrammingAbstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดเบื้องต้นในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับแบบจำลอง DEA ในการ คำนวณหาค่าคะแนนประสิทธิภาพทั้งทางด้านปัจจัยการผลิต และผลผลิต รวมไปถึงการพิจารณาประโยชน์ และข้อจำกัด ของแบบจำลอง DEA ในการวัดประสิทธิภาพของ DMUs นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาถึงวิวัฒนาการของแบบจำลอง DEA ในงานวิจัยที่สำคัญหลายชิ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่การลดข้อจำกัดของแบบจำลอง DEA รวมทั้ง การพัฒนาแบบจำลองให้สามารถวัดประสิทธิภาพในแง่มุมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
The objective of this article is to present the fundamental idea in order to understand the ways to evaluate the efficiency scores both on the input–oriented and output–oriented aspects together with considering benefits and defects of the traditional DEA model in estimating the efficiency level of DMUs. In addition, the article aims at considering the evolution of DEA model in many interesting works during the past several years targeting both to reduce the defects of DEA model and to properly enhance the capability of the model in estimating the wide varieties of aspects of efficiency measurement.
Downloads
Issue
Section
License
All opinions and contents in the CMJE are the responsibility of the author(s). Chiang Mai University Journal of Economics reserves the copyright for all published materials. Papers may not be reproduced in any form without the written permission from Chiang Mai University Journal of Economics.
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่างๆในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆของวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทความ เนื้อหา และข้อมูล ฯลฯ ในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่