COMPARATIVE CAPABILITIES, INCOME, SOCIAL CAPITAL, SUFFICIENCY AND HAPPINESS OF CHINESE AND THAI HOUSEHOLDS IN CHIANG MAI PROVINCE, THAILAND

Authors

  • Guo Jiajie Faculty of Economics, Chiang Mai University
  • Daniel Schoch Faculty of Economics, University of Nottingham-Malaysia
  • Peter H. Calkins Faculty of Economics, Chiang Mai University

Keywords:

Capabilities, income, social capital, sufficiency, life satisfaction, happiness, Chinese and Thai households, Chiang Mai

Abstract

The goal of this study is to measure and compare the capabilities, income, social capital, sufficiency, life satisfaction and happiness of Thai and Chinese households who have immigrated to Chiang Mai. An original survey of 100 Thai and 100 Chinese households in Chiang Mai was conducted to test for statistically significant differences with respect to religion, migration and socio-demographic characteristics. The results confirmed the hypothesis that the majority of Thai and Chinese migrants came to Chiang Mai for occupational motives. There is no significant difference in terms of income, capabilities, social capital per capita, education, wealth, life satisfaction or happiness between the two ethnic groups. However, inequality and social capital are greater in Chinese households; while health, employment and other opportunities are significantly greater in Thai households. This research has actionable implications for governments, civil society, and potential and current migrants.

 

จุดมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้เพื่อต้องการที่จะวัดและเปรียบเทียบ ระดับความสามารถ รายได้ ต้นทุนทางสังคม ความพอเพียง ความพอใจในชีวิต และความสุขของประชากรในระดับครัวเรือนของประชากรไทย และประชากรจีน ที่ย้ายถิ่นฐานมาพำนักในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีการจัดทำและแจกแบบสอบถามให้แก่ ประชากรไทย 100 คน และ ประชากรจีน 100 คน เพื่อที่จะทดสอบนัยยะความแตกต่างทางสถิติ โดยคำนึงถึง ศาสนา การย้ายถิ่นฐาน และลักษณะ ทางสังคม-ประชากรศาสตร์ ผลการวิจัยที่ออกมานั้นได้สนับสนุนสมมุติฐานที่ว่า ประชากรไทยและจีนส่วนใหญ่นั้น ย้ายถิ่นฐานมาอยู่เชียงใหม่เนื่องจาก จุดมุ่งหมายทางด้านอาชีพการงาน โดยที่ไม่มีนัยยะความแตกต่างในเรื่องของรายได้ ระดับความสามารถ ต้นทุนทางสังคมต่อหัว การศึกษา ความร่ำรวย ความพึงพอใจในชีวิต หรือความสุขระหว่าง กลุ่มชาติพันธุ์สองกลุ่ม อย่างไรก็ตาม ในด้านความไม่เท่าเทียมกันและ ต้นทุนทางสังคม ยังคงมีอยู่ในระดับที่มาก ในกลุ่มประชากรครัวเรือนจีน ในขณะที่ในด้านสาธารณสุข ภาวะกรมานทำและโอกาสในด้านอื่นๆ นั้น ยังมีอยู่ในระดับที่สูง ในกลุ่มของประชากรครัวเรือนไทย งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีศักยภาพเพียงพอเพื่อนำไปใช้ในงานวิจัยในระดับการนำไปใช้จริงสำหรับรัฐบาล สังคมชุมชน กลุ่มคนที่มีศักยภาพและผู้ย้ายถิ่นฐานในปัจจุบัน

Downloads