ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์จุลภาคสาหรับอุปสงค์การท่องเที่ยว
Keywords:
อุปสงค์การท่องเที่ยว, เศรษฐศาสตร์จุลภาค, เศรษฐศาสตร์การท่องเที่ยว, tourism demand, microeconomic, tourism economicsAbstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวคิดการพัฒนาแบบจาลองอุปสงค์การท่องเที่ยวที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฏีอรรถประโยชน์ โดยการทบทวนและสังเคราะห์การศึกษาในอดีต แนวคิดที่นาเสนอครอบคลุมแนวคิดตั้งแต่การหาอุปสงค์ของการใช้เวลาว่างเพื่อการพักผ่อนที่มีค่าจ้างแรงงานเป็นตัวกาหนดที่สาคัญในการตัดสินใจเลือกระหว่างการบริโภคกับ การพักผ่อน ต่อมาเป็นการนาเสนอแนวคิดการพัฒนาอุปสงค์ของเวลาที่ใช้ในการท่องเที่ยว ซึ่งถูกกาหนดโดยราคาการท่องเที่ยว สุดท้ายเป็นการนาเสนอแนวคิดการตัดสินใจเลือกแหล่งท่องเที่ยวภายใต้ข้อจากัดทางด้านเวลาและรายได้ของนักท่องเที่ยวแต่ละคน และจากแนวคิดดังกล่าวนามาสู่การพัฒนาอุปสงค์ของการใช้เวลาในแต่ละแหล่งท่องเที่ยวที่ขึ้นอยู่กับราคาของการไปท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ แนวคิดเหล่านี้เป็นพื้นฐานสาคัญสาหรับผู้ที่สนใจศึกษาและพัฒนาแบบอุปสงค์การท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่สนใจประยุกต์ใช้ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ในการศึกษาอุปสงค์การท่องเที่ยว
A Microeconomic Theory for Tourism Demand
The aim of this article is to review three tourism demand models that are based on the utility theory by reviewing and synthesizing previous studies. The first concepts presented in this article cover the demand model for leisure time in which wages are a major determinant in the choice between consumption and leisure. Secondly, the concept of development of the demand for travel time which is determined by price of tourism. Thirdly, the concept of choosing destination under a time and budget constraint of individual tourist led to the development of demand for spending time in each destination which depends on prices of destination. These concepts are the important basis for those interested in studying and estimating the tourism demand as well as those interested in applying economic theory in the study of tourism demand.
Downloads
Issue
Section
License
All opinions and contents in the CMJE are the responsibility of the author(s). Chiang Mai University Journal of Economics reserves the copyright for all published materials. Papers may not be reproduced in any form without the written permission from Chiang Mai University Journal of Economics.
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่างๆในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆของวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทความ เนื้อหา และข้อมูล ฯลฯ ในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่