Impacts of a Natural Disaster on Well-being, Happiness and Social Capital in Two Nagis-affected Areas in Myanmar
Keywords:
natural disaster, Nargis, Irrawaddy delta, poverty, social capital, happiness, ภัยธรรมชาติ, นาร์กีส, สามเหลี่ยมอิรวดี, ความยากจน, ทุนทางสังคม, ความสุขAbstract
In the absence of before-and-after data on the same community, the goal of this study is to infer, through contemporaneous comparisons of two study areas differentially affected by cyclone Nargis, the impacts of the cyclone on well-being, happiness and social capital. Profiles and characteristics of 302 small farm households using data collected 27 months after the catastrophe were compared against an exact poverty line developed through the Cost of Basic Needs Method. The Gini measure of relative inequality was used to measure the extent and distribution of poverty. T-tests, correlation matrices, and regressions were used test for the significance of differences between the slightly- and heavily-affected areas. Recommendations must be made to local and national governments, to NGOs, and to the affected communities themselves as to how to reduce absolute poverty; and to anticipate, protect against, and reduce the economic and mental impacts of natural disasters. State and local economic development officials should focus their efforts on encouraging education and retaining and attracting better educated residents. The resulting social capital will be the best gauge of the continued rehabilitation of the victims and the creation of individual and social resilience in case of any such event in the future.
นื่องจากการขาดแคลนข้อมูลก่อนและหลังเกิดเหตุภัยพิบัติในชุมชนเดียวกัน การศึกษานี้จึง พิจารณาเปรียบเทียบพื้นที่ศึกษาสองแห่งซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนนาร์กีส โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปผลกระทบของพายุไซโคลนนาร์กีสที่มีต่อสวัสดิภาพทางด้านกายภาพ รายได้ การจัดสรรรายได้ ความสุข และทุนทางสังคม ข้อมูลโดยรวมและลักษณะของครอบครัว เกษตรกรรมขนาดเล็กจำนวนสามร้อยสองหลังคาเรือนซึ่งได้รับการรวบรวมหลังเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติดังกล่าวยี่สิบเจ็ดเดือน ถูกนำมาเปรียบเทียบกับเส้นความยากจนที่ได้จากการคำนวนมูลค่าความ ต้องการพื้นฐานขั้นต่ำของคนในการดำรงชีวิต ดัชนีจีนี ของความเหลื่อมล้ำาสัมพัทธ์รวมทั้งสภาวะ ความยากจน ระดับความยากจนที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ ความรุนแรงของความยากจน และความต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนสำหรับความยากจนด้านอาหารในพื้นที่ศึกษาทั้งสองแห่ง ถูกนำมาใช้เป็นเกณฑ์วัดขอบเขตและการกระจายตัวของความยากจน สถิติทดสอบที เมตริกซ์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการถดถอย ถูกใช้ในการทดสอบหาความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่างพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างน้อยและพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง จะต้องมีการส่งข้อเสนอแนะให้กับส่วนท้องถิ่นและรัฐบาลแห่งชาติ องค์กรเอ็นจีโอและชุมชนที่ได้รับผลกระทบ ว่าจะสามารถลดปัญหาความยากจนสัมบูรณ์อย่างไร และจะคาดการณ์ เตรียมการป้องกัน และลดผลกระทบที่เกิดจากภัยธรรมชาติทางด้านเศรษฐกิจและจิตใจอย่างไร
Downloads
Issue
Section
License
All opinions and contents in the CMJE are the responsibility of the author(s). Chiang Mai University Journal of Economics reserves the copyright for all published materials. Papers may not be reproduced in any form without the written permission from Chiang Mai University Journal of Economics.
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่างๆในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆของวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทความ เนื้อหา และข้อมูล ฯลฯ ในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่