ความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรส่งออกของไทยไปยังประเทศจีน
Abstract
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการจะวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการขยายตัวของการส่งออกสินค้าของไทยไปยังตลาดจีนโดยใช้ แบบจำลองส่วนแบ่งตลาดคงที่ (Constant Market Share Model: CMS) และศึกษาความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของสินค้าส่งออกของไทยกับประเทศคู่แข่งที่สำคัญในตลาดจีนโดยใช้ ดัชนีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (Revealed Comparative Advantage Index: RCA) และพลวัตรความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Dynamic Revealed Comparative Advantage) ทั้งนี้เป็นเลือกศึกษาจากสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าสูงสุด 24 อันดับแรกซึ่งผลจากการศึกษาทำให้พบว่า สินค้าไทยที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นของการส่งออกไปยังประเทศจีนมีอยู่ 21 ชนิด ส่วนสินค้าที่ประเทศไทยยังมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบนั้นมี 23 ชนิด
Abstract
This paper aimed to analyze the factors having effects on Thailand’s export expansion into the People Republic of China (PRC) based on the Constant Market Share Model (CMS). It also applied the Revealed Comparative Advantage Index (RCA) and Dynamic Revealed Comparative Advantage to analyze Thai export commodities compare with other competitors. This study focused on the top 24 highest value of Thai agricultural export commodities. The results from the study found that there were 21 kids of Thai agricultural export commodities expanding into the PRC and there were 23 kinds of Thai agricultural export commodities that Thailand still had comparative over other competitors.
Downloads
Issue
Section
License
All opinions and contents in the CMJE are the responsibility of the author(s). Chiang Mai University Journal of Economics reserves the copyright for all published materials. Papers may not be reproduced in any form without the written permission from Chiang Mai University Journal of Economics.
ข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่างๆในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้นๆ มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆของวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทความ เนื้อหา และข้อมูล ฯลฯ ในวารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของคณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่