Submissions

Login or Register to make a submission.

Submission Preparation Checklist

As part of the submission process, authors are required to check off their submission's compliance with all of the following items, and submissions may be returned to authors that do not adhere to these guidelines.
  • The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
  • The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, RTF, or WordPerfect document file format.
  • Where available, URLs for the references have been provided.
  • The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
  • The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines, which is found in About the Journal.
  • If submitting to a peer-reviewed section of the journal, the instructions in Ensuring a Blind Review have been followed.

Author Guidelines

คำแนะนำในการเตรียมและขั้นตอนในการส่งบทความ
1. การพิมพ์ต้นฉบับจะต้องพิมพ์ตามรูปแบบและขนาดตัวอักษรตาม template ที่กำหนดไว้ 
2. บทความอาจเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เนื้อเรื่องมีความยาวประมาณ 10 - 15 หน้าของ template
3. ผู้เขียนบทความทุกคนต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ - นามสกุล ของผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด และอีเมล์ ให้ชัดเจน
4. บทคัดย่อ 1 คอลัมภ์มีความยาวประมาณ 15 บรรทัด และมีคำสำคัญ (Keywords) 4-5 คำ โดยบทควมภาษาไทยต้องมีบทคัดย่อภาษาอังกฤษด้วย
5. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง แบ่งเป็น 2 คอลัมภ์
     5.1 บทความวิจัยควรประกอบด้วย ความนำ วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐาน (ถ้ามี) วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง   
     5.2 บทความวิชาการประกอบด้วย ความนำ สรุปผล ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง รายงานอ้างอิงภาษาไทย ก-ฮ และตามด้วยภาษาอังกฤษ (เรียงตามลำดับตัวอักษร) ตามรูปแบบที่กำหนด
หมายเหตุ: ตาราง และภาพประกอบให้แทรกในเนื้อเรื่อง โดยจัดเป็น 1 คอลัมภ์

 

แบบฟอร์มการชำระค่าตีพิมพ์    แบบฟอร์มการชำระค่าตีพิมพ์บทความในวารสาร EAU Heritage_สหก.ว. 041

แบบฟอร์มส่งบทความ   แบบฟอร์มส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ EAU Heritage_สหก.ว. 051

 

การตีพิมพ์บทความ ต้องจัดตาม Template และขนาดตัวอักษรตาม Template ตามที่กำหนดไว้ ผู้เขียนสามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่

               Template บทความวิจัย.doc

               Template บทความวิจัย.pdf

               Template บทความวิชาการ.doc

               Template บทความวิชาการ.pdf

               Template บทความวิจัยภาษาอังกฤษ.doc

               Template บทความวิจัยภาษาอังกฤษ.pdf

               Template บทความวิชาการภาษาอังกฤษ.doc

                Template บทความวิชาการภาษาอังกฤษ.pdf

 

การอ้างอิงและการเขียนเอกสารอ้างอิง     
     ในกรณีที่ผู้เขียนต้องการระบุแหล่งที่มาของข้อมูลในเนื้อเรื่อง ให้ใช้วิธีการอ้างอิงแบบนามปี (APA) โดยระบุชื่อผู้แต่ง ปีพิมพ์ และเลขหน้า ที่ข้อมูลปรากฎอยู่ (ชื่อ นามสกุล, ปีพิมพ์, เลขหน้า) ตัวอย่างเช่น     
     (ธวัชชัย สันติวงษ์, 2540, น. 142) 
     (Fuchs, 2004, p. 21)
ส่วนการเขียนรายการอ้างอิงท้ายเล่ม ให้ใช้ระบบการอ้างอิงแบบ APA ตัวอย่างการเขียนรายการอ้างอิง มีดังนี้

1. หนังสือ   
ชื่อผู้แต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อหนังสือ (ครั้งที่พิมพ์). เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่พิมพ์.   
ประคอง กรรณสูต. (2541). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ. 
Sharp, W. F. (1985). Investment (3rd ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

2. ชื่อบทในหนังสือรายงานการประชุม 
Hay, S. P. (1975). Political parties and the community-society continuum. In W. N.Chambers & W. D. Burnham (Eds.), The American party systems  Stage of political development (2nd ed.). New York: Oxford University Press.     
สุไร พงษ์ทองเจริญ. (2539). สาระสำคัญเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. ในเอกสารการสอนชุดวิชาการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา
     (พิมพ์ครั้งที่ 2, หน่วยที่ 9). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

3. วารสาร     
ชื่อผู้แต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่), เลขหน้า.     
สุจินต์ สิมารักษ์. (2550). หลากหลายปัญหาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย. วารสารเศรษฐกิจการเกษตร, 27(2), 53-57.

4. หนังสือพิมพ์     
ชื่อผู้แต่ง. (ปี, เดือน วันที่). ชื่อบทความ. ชื่อหนังสือพิมพ์, หน้า.     
ศรีสกุล ลีวาพีระพันธ์. (2545, กรกฎาคม 11). จับทีวีใส่กระเป๋าเขาทำกันอย่างไร?. มติชน, หน้า 19.

5. วิทยานิพนธ์     
กอบกุล สรรพกิจจำนง. (2541). การวิจัยเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนานโยบายการใช้อินเทอร์เน็ตสำหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต,
     จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

6. สารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต   
ชื่อผู้เขียน. (ปีที่เผยแพร่เอกสาร). ชื่อเรื่อง. ค้นจาก (ระบุ URL ที่สืบค้นบนอินเทอร์เน็ต).   
มานพ แก้วผกา. (2549). เศรษฐกิจพอเพียง กับการค้าเสรีไปด้วยกันได้จริงหรือ. ค้นจาก https://www.ftawatch.org  
Prizker,T. J. (1989). An early fragment from central Nepal. Retrieved from https://www.ingress.com/-astranart/pritzker.html

 

รูปแบบการอ้างอิงเอกสาร

การอ้างอิงเอกสารให้เขียนตามแบบ APA 6th ed (American Psychological Association) ดังนี้

 

การอ้างอิงในเนื้อหาบทความ

ให้อ้างชื่อผู้แต่งหรือชื่อเรื่องในกรณีที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง และปีพิมพ์ โดยเขียนชื่อสกุลของผู้แต่งหรือชื่อเรื่อง และปี ค.ศ. ของการพิมพ์เอกสาร ทั้งกรณีที่เป็นเอกสารของชาวไทยและชาวต่างประเทศ

 

ตัวอย่างการเขียนอ้างอิงในเนื้อหาบทความ

          โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมีเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ประการแรก ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยวิจัยที่มี ศักยภาพในระดับโลกจำนวน 7-10 แห่งที่สามารถสนับสนุนเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพ ประการที่ 2 เพื่อให้เกิดกลุ่มวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่สามารถนำผลงานไปใช้ในภาคการผลิต ช่วยสร้างรายได้สู่ชุมชน และส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม ทั้งในด้าน การส่งเสริมการส่งออกและทดแทนการนำเข้าจากเป้าหมายดังกล่าวได้มีการจัดกลุ่มมหาวิทยาลัยของไทยออกเป็น 4 กลุ่มและมีบทบาท ดังนี้ (Pitiyanuwatna, 2006) หรือ

          Pitiyanuwatna (2006) ได้กล่าวถึงโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติมีเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ประการแรก ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยวิจัยที่มีศักยภาพในระดับโลกจำนวน 7-10 แห่งที่สามารถสนับสนุนเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศและช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพ ประการที่ 2 เพื่อให้เกิดกลุ่มวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัย ตีพิมพ์ระดับนานาชาติที่สามารถนำผลงานไปใช้ในภาคการผลิต ช่วยสร้างรายได้สู่ชุมชน และส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม ทั้งในด้านการส่งเสริม การส่งออกและทดแทนการนำเข้า จากเป้าหมายดังกล่าวได้มีการจัดกลุ่มมหาวิทยาลัยของไทยออกเป็น 4 กลุ่มและมีบทบาท ดังนี้

 

การอ้างอิงท้ายบทความ

ให้เขียนรายการเอกสารอ้างอิงเป็นภาษาอังกฤษ แล้วจัดเรียงลำดับรายการเอกสารที่ใช้อ้างอิงไว้ท้ายบทความตามลำดับอักษรชื่อสกุลของผู้แต่ง หรือชื่อเรื่องในกรณีที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง หากเอกสารที่อ้างอิงไม่ได้เขียนด้วยภาษาอังกฤษ ให้แปลความหมายของชื่อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษ และวงเล็บท้ายชื่อเรื่องของเอกสารนั้นว่าต้นฉบับเป็นภาษาใด เช่น ระบุว่า (in Thai) ดังตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิงเบื้องต้น ดังนี้

 

  1. หนังสือ

ชื่อสกุลผู้แต่ง, ชื่อย่อ. (ปีพิมพ์). ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.

Author, A. A. (Year). Title of work. Location: Publisher.

Engle, S. (2015). The hungry mind: The origins of curiosity in childhood.

           Cambridge, MA: Harvard University Press.

Lorsuwannarat, T. (2006). Learning organization: From the concepts topractives (3rd ed.).

           Bangkok: Ratanatri. (in Thai)

 

  1. บทความวารสาร

ชื่อสกุลผู้แต่ง, ชื่อย่อ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่(ฉบับที่), เลขหน้าที่ปรากฎบทความในวารสาร.

Author, A. A., Author, B. B., & Author, C. C. (Year). Title of article. Title of Journal, vv, pp-pp.

           https://doi.org/xx.xxxx/xxxxxx

Manmart, L. (2000). Current situation of technology management in Schools of Library and

           Information Science in Thailand. Journal of Library and InformationScience.18(3), 1-24.

           (in Thai).

Zaki, S. R., & Kleinschmidt, D. (2014).  Procedural memory effects in categorization: evidence for

           multiple systems or task complexity? Memory and Cognition42, 508-524. 

           https://doi.org/10.3758/s13421-013-0375-9

บทความวิชาการ

งานเขียนซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ เป็นความรู้ใหม่ กล่าวถึงความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ แนวทาง การแก้ปัญหา มีการใช้แนวคิดทฤษฎี ผลงานวิจัยจากแหล่งข้อมูล สรุป เช่น หนังสือ วารสารวิชาการ ฐานข้อมูล Online ประกอบการ วิเคราะห์วิจารณ์ เสนอแนวทางแก้ไข

บทความวิจัย

เป็นการนำเสนอผลการวิจัยอย่างเป็นระบบ กล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ การดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ กิติกรรมประกาศ (ถ้ามี) เอกสารอ้างอิง

Privacy Statement

The names and email addresses entered in this journal site will be used exclusively for the stated purposes of this journal and will not be made available for any other purpose or to any other party.