The Effectiveness of e-Commerce Policy Implementation by the Ministry of Commerce towards SMEs Entrepreneurs in Thailand

Authors

  • Pawrin Rattanapian Public Administration Curriculum ValayaAlongkorn Rajabhat University Under the Royal Partonage Research ValayaAlongkornRajabhat University Under the Royal Partonage
  • Sman Ngamsnit Public Administration Curriculum ValayaAlongkornRajabhat University

Keywords:

e-commerce, public policy, entrepreneurs, SMEs, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, นโยบายสาธารณะ, ผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

Abstract

The purposes of this research are as follow: to study the effectiveness, factors, strategies and plans of e-Commerce policies implementation, and to suggest or improve factors that could influence the effectiveness of e-Commerce policies implementation. An Investigation of e-Commerce Policy requires initial understanding of Strategies and Policy implementation in specific context. The study found that burdens for e-Commerce policy includes a lack of promotion, entrepreneurs’ knowledge, internet transaction awareness, and a lack of human resources. Also, there are only two choices for e-Commerce to select from either “DBDmart.com” or “Thaitrade.com” which are not compatible with all types of e-Commerce entrepreneurs. The factor such as “Friend or Foe” or “Prisoner Dilemma” theories might create some fear to entrepreneurs and result in an unsuccessful policy. The study shows that the government should use the bottom-up policy making concept along with the vertical policy that focuses only on the flagship business that could drive an economy in the future. This paper proposes a model for examining the interaction of structural of e-Commerce policies implementation and SMEs in Thailand and integrates the theory concepts with related factors.

 

ประสิทธิภาพของนโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ต่อผู้ประกอบการ SMEs ในประเทศไทย

จุดประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ปัจจัย กลยุทธ์ และแผนการนำนโยบายมา ประยุกต์ใช้ และเพื่อแนะนำหรือปรับปรุงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของนโยบายซึ่งในการวิจัยนโยบาย พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้นจำเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับกลยุทธ์ และการดำเนินนโยบายอย่างถ่องแท้ การวิจัย ครั้งนี้ค้นพบว่าอุปสรรคในของการดำเนินนโยบายประกอบด้วย การขาดซึ่งการประชาสัมพันธ์ที่ดี ความรู้ของ ผู้ประกอบการ ความกลัวต่อการทำธุรกรรมในอินเตอร์เน็ตและการขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญ นอกจากนี้นโยบาย ทางเลือกสำหรับผู้ประกอบการมีเพียงแค่ 2 ทางเลือกเท่านั้น ซึ่งอาจจะไม่เหมาะสมกับประเภทของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ปัจจัยเช่นเรื่อง “เพื่อนรักเพื่อนร้าย” หรือ “ทฤษฎีเกมส์:ทางเลือกของนักโทษ” อาจจะก่อให้เกิด ความกลัวต่อผู้ประกอบการ และอาจจะส่งผลต่อความล้มเหลวของนโยบาย การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงรัฐบาล ควรจะใช้การออกนโยบายแบบจากระดับล่างสู่ระดับบนหรือแบบผสมผสานบ้าง หรือเป็นนโยบายแนวดิ่งที่เน้น ธุรกิจที่จะสามารถเป็นตัวชูโรงที่สามารถผลักดันเศรษฐกิจได้ในอนาคต การวิจัยนี้ได้นำเสนอรูปแบบการนำมาใช้ ร่วมกันของโครงสร้างการใช้นโยบายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในประเทศไทย และบูรณาการกรอบแนวคิดนโยบายสาธารณะกับปัจจัยต่างๆ

Downloads

Issue

Section

บทความวิจัย