Second “Nature” and Autofictional Strategies in Ivan Vladislavic’s Portrait with Keys: Joburg and What-What
Keywords:
autofiction, Mother nature, second nature, city, Ivan Vladislav ic, Portrait with Keys, อีวาน วลาดิสลาสวิค, วรรณกรรมบันเทิงAbstract
In 2006, Ivan Vladislavic published Portrait with Keys. Very soon this text was described as the South African novelist’s “first non fiction work”. In this article, I show that Vladislavic’s text is not a non-fiction work but rather an expert mixture of autobiographical and factual information which can be described as autofictional (Doubrovsky, 1975; Hubier, 2003; Lecarme and Lecarme-Tabone, 2004; Gasparini, 2008; Burgelin, Grell and Roche, 2011). As Lenta (2009) contends, Portrait with Keys is part of a hybrid genre, “an experiment with genre that combines biography, autobiography, historical writing and the essay to explore the everyday life of Johannesburg, the city in which its author lives and works”, influenced by French writers and documenters of the quotidian de Certeau, Pérec, Serres and Lefèbvre. In this odd urban dossier of Johannesburg the writer’s deliberate ‘ramblings’ invite the reader to enter this city, which can be analyzed as the author’s second nature on the one hand, and nature’s second nature on the other, as at once a significant South African space and as an individual autobiography which encompasses art and life, in short “the quirky art of living”. The emphasis here will be on the presence/absence of elements of nature and natural environment in contemporary autofictional writing.
บทความนี้มีความน่าสนใจ คือ การวิเคราะห์วรรณกรรมชิ้นสำคัญของ อีวาน วลาดิสลาวิค (Ivan Vladislavic) เรื่อง พอร์เทรท วิท คียส์ หรือคำเฉลยบนภาพวาด (Portrait with Keys) เป็นงานเขียนที่ไม่จัดว่าเป็นงานวรรณกรรม แต่ผู้เขียนบทความนี้ต้องการโต้แย้งว่างานเขียนนี้เป็นอัตชีวะบันเทิง ด้วยการวิเคราะห์ลักษณะตลอดจนกลยุทธ์และวิธีการเขียนที่รวมประวัติบางด้านของผู้เขียนที่สอดแทรกในข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงในสถานที่ ที่กล่าวถึงเรื่องราวที่เขียนมีลักษณะเป็นงานวรรณกรรมเช่นเดียวกับวรรณกรรมบันเทิงคดีซึ่งเลนต้า (Lenta 2009) ได้ให้ข้อสังเกตว่างานเขียนชิ้นนี้มีลักษณะเป็นลูกผสมของการเขียนวรรณกรรมที่รวมเอาชีวประวัติ อัตชีวประวัติ บันทึกทางประวัติศาสตร์ และข้อวิจารณ์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของผู้คนในเมืองโจฮันเนสเบิร์ก (Johannesburg) ซึ่งผู้เขียนเคยใช้ชีวิตอยู่และทำงานที่นั่น การที่ผู้เขียนจงใจบรรยายเหตุการณ์ต่างๆ โดยละเอียดเท่ากับเปิดโอกาสให้คนอ่านได้สัมผัสวิถีชีวิตของผู้คนในเมืองโจฮันเนสเบิร์ก (Johannesburg) ตลอดจนสะท้อนอุปนิสัยของผู้เขียนไปด้วยและในทางกลับกันคนอ่านก็ยังเข้าถึงลักษณะที่เป็นธรรมชาติของผู้คนในเมืองโจฮันเนสเบิร์ก (Johannesburg)ที่สะท้อนความเป็นอัฟฟริกาใต้ของผู้เขียนและตลอดจนบ่งบอกความเป็นตัวตนจากงานศิลปะชิ้นนี้ไปด้วยกันบทความนี้จึงเน้นประเด็นที่สะท้อนความเป็นปัจจุบันรวมทั้งสิ่งที่ขาดหายไปบางส่วนซึ่งถือเป็นลักษณะตามธรรมชาติของการเขียนเชิงอัตชีวะบันเทิงแนวใหม่