Three Ways of Change: The New Human in Literature

Authors

  • Rosendahl Thomsen Aarhus University

Keywords:

The new human, การเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์

Abstract

Thomsen argues that the idea of a “new human” in literature has had three dominant phases in the 20th century, which literature has responded to in distinct ways. From the post-Nietzschean hopes to change the spiritual life and perceive the world in new ways over the historically devastating attempts to create new humans through a change of societies to the posthuman horizon that focuses on bodily changes. Writers such as Virginia Woolf, Mo Yan and Don DeLillo have each in their way and in their time explored how fragile ideas of human identity taken in the abstract gain complexity and relevance through the exploration of narratives of life-stories that must take place with a concrete relation to relations, cultural history and ideas of selfhood.

The idea of the new human or the posthuman has in recent years gained more attention in literary studies, not just in science fiction studies but also in more general studies of literature. In this article I will argue that literature has dealt with different visions of human change in three distinct ways in the past century and a half being focused on respectively the mind, the society and the body. After introducing to the subject’s position in literary studies with examples drawn from Mary Shelley and Don DeLillo, I shall argue that Niklas Luhmann’s system theory can help to differentiate between different ideas of human change. Following that, I will show how literature in different periods have responded to various scenarios for thinking of a new human.


การเปลี่ยนแปลง 3 รูปแบบ: อัตลักษณ์ใหม่ของมนุษย์ที่ปรากฏในงานวรรณกรรม

บทความเรื่อง การเปลี่ยนแปลง 3 รูปแบบ: อัตลักษณ์ใหม่ของมนุษย์ที่ปรากฏในงานวรรณกรรม ดร.ธอมเซน ได้เสนอกรอบความคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ใหม่ของมนุษย์ในงานวรรณกรรมในศตวรรษที่ 20 สามารถแบ่งออกได้เป็น สามระยะมีลักษณะแตกต่างกัน โดยเริ่มจากยุคหลังนิชชี ความหวังที่จะเปลี่ยนแปลงจิตวิญญาณของปัจเจกบุคคลและ ความเข้าใจโลกทัศน์ใหม่ที่ต่างจากอดีตที่มุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเฉพาะด้านกายภาพ นักเขียนที่มีชื่ออาทิเช่น เวอจิเนีย วูลฟ์, โมยัน, ดอน เดลิลโล ต่างได้ศึกษาวิเคราะห์ความคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของปัจเจกบุคคลในยุคของตน และพบว่ามีความละเอียดอ่อนเปราะบางและซับซ้อน จากการนำเสนอเรื่องราวของตนเองที่เกี่ยวข้องกับสังคมนั้นๆ ที่เป็น รูปธรรมสอดคล้องกับวิถีชีวิตในอดีตตลอดจนความคิดต่างๆ เกี่ยวกับความเป็นตัวตนของมนุษย์ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ มนุษย์ยุคใหม่และยุคเก่าในช่วงที่ผ่านมาได้รับความสนใจมากขึ้นโดยเฉพาะในงานเขียนต่างๆ ไม่เฉพาะการศึกษางาน วรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์และวรรณกรรมต่างๆ ในบทความนี้ผู้เขียนได้อภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับวิสัยทัศน์ ของนักเขียนต่อการเปลี่ยนแปลงของคนในสังคมในร้อยปีที่ผ่านมาโดยจะเน้นการเปลี่ยนแปลงความคิดทางสังคมและ สภาพแวดล้อมที่ปรากฏในแต่ละยุคสมัยโดยมีการเชื่อมโยงกับงานเขียนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะงานเขียนของแมรี่ เชลลี และดอน เดลิลโล ตลอดจนนำข้อคิดและทฤษฎีของนิคลาส ลูแมนมาเป็นประเด็นหลักในการนำเสนอซึ่งจะทำให้สามารถ แยกประเด็นที่แตกต่างทางด้านความคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ ผู้เขียนได้นำ ผลงานทางวรรณกรรมในต่างยุคสมัยมาวิเคราะห์เกี่ยวกับอัตลักษณ์ใหม่ของมนุษย์ในปัจจุบันที่สะท้อนให้เห็นว่าไม่มีใคร สามารถกำหนดวิถีชีวิตใครได้นอกจากตนเองเท่านั้น

Downloads

Issue

Section

บทความวิชาการ