การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

Authors

  • ภัทราวดี มากมี อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

Keywords:

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน, Problem-based Learning

Abstract

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) หรือ PBL เป็นรูปแบบการสอนที่สามารถ นำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ดีมากวิธีหนึ่ง คือ ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และคิดอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น ยังมีโอกาสออกไป แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ในส่วนของผู้สอนก็ลดบทบาทของการเป็นผู้ควบคุม ในชั้นเรียนลง กันผู้เรียนมีอำนาจในการจัดการควบคุมตนเอง สามารถหาความรู้ใหม่ได้ตามความประสงค์ผู้เรียน ต้องทำงานเป็นกลุ่ม กำหนดขั้นตอนการเรียนรู้เป็น 6 ขั้นตอน ได้แก่ การกำหนดปัญหา, การระดมสมอง, การวิเคราะห์ ปัญหา, การวางแผนการศึกษาค้นคว้า, การสร้างประเด็นการเรียนรู้และประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา และ การสรุปผลและรายงานผล มีบทบาทให้กำลังใจผู้เรียนในการอภิปรายและเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ และช่วยประธานกลุ่ม ขับเคลื่อนการอภิปรายและรักษาเวลา ให้กลุ่มได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ รวมถึงตรวจสอบความเข้าใจของกลุ่ม และสุดท้ายคือและประเมินการแสดงออกของสมาชิกในกลุ่ม

 

Problem-based Learning

Problem-based Learning or PBL is, one of the best teaching models that can used to improve the quality of learning of the students PBL-- unable students to develop learning skills critical thinking, problem solving and creativity thinking. Students in PBL involved more in learning and practicing, having there is also an opportunity to seek self-directed learning resources. Both inside and outside the school. It will reduce a supervisory role of teachers. Students are empowered to manage their own PBL consists of 6 steps; problem, brain storming, problem analysis, planning, learning and application and summary and report. Students to work as a group. Instructors working in groups role encouraging students all.

Downloads

Issue

Section

บทความวิชาการ