รูปแบบการใช้อำนาจบารมีของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลต่อการดำเนินการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Keywords:
รูปแบบ, อำนาจบารมี, ผู้นำการเปลี่ยนแปลงAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการใช้อำนาจบารมีของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลต่อการดำเนินการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการวิจัยผสมเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้อำนาจบารมีของผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลการดำเนินการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ปัจจัยการใช้อำนาจบารมีเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) รูปแบบการใช้อำนาจบารมีของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลต่อการดำเนินการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย การจูงใจให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน สร้างความไว้วางใจกับผู้ใต้บังคับบัญชา สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชาในการทำงานและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เสนอโครงการและมีกิจกรรม และการใช้อำนาจบารมีเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
References
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและการบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
นิพนธ์ ระสิตานนท์. (2514). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังอานาจของผู้บริหารโรงเรียน
กับขวัญของครู สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิตยา แสนใจกล้า. (2548). การใช้อานาจของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1. งานนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิกุล ดีพิจารณ์. (2548). การใช้อานาจของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชน ในเขต
ภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). เอกสารประกอบคาบรรยาย วิชาองค์การและการจัดการทางสังคม. กรุงเทพฯ: คณะ
พัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ไพโรจน์ ทองนา. (2548). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมภาวะผู้นากับผลการปฏิบัติงานตามกระบวนการ
บริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 4. ค้นจาก http://www.thaiedresearch.org/ result/result.php?id=2272
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2545). พฤติกรรมองค์การ: ทฤษฏีและการประยุกต์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์. (2545). หลักการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2549). หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษามีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ. ค้นจากhttp://www.moe.go.th
สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2552). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่: แนวคิด และทฤษฎี (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น
จำกัด (มหาชน).
สุรวุฒิ ยัญญลักษณ์. (2550). การพัฒนาสมรรถนะเพื่อเพิ่มประสิทธิผลขององค์กร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Bass, B. M. & Avolio, B. J. (1994). Improving organization effectiveness through transformational leadership.
Thousand Oaks: Sage.
Greenleaf. R. K. (1997). Servant leadership: A journey into the nature of legitimate power and greatness. Mahwah,
N.J.: Paulist Press.
Hersey, P. & Blanchard, K. H. (1993). Management of organization behavior: Utilizing human resources (6th ed.).
Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.
McClelland, D. C. (1961). Power: The inner experience. New York: Irvington.
Northouse, P. G. (2000). Leadership: Theory and practice (2nd ed.). London: Sage.
Robbins, S. P. (2005). Organizational behavior (11th ed.). N.J.: Pearson.
Stogdill, R. M. (1974). Handbook of leadership: A survey of theory and research. New York: The Free Press.