รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มพลังอำนาจของครู

Authors

  • Dararat kamome

Keywords:

ภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอน, โรงเรียนประถมศึกษา, กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

Abstract

การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอนของครู และการเพิ่มพลังอำนาจของครู (2) วิเคราะห์ปัจจัยภาวะผู้นำ (3) สร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำ (4) ประเมินรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำ และ (5) ทดลอง และการศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มพลังอำนาจของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น(ภาคกลาง) ประชากร จำนวน 25,089 คน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน      t-test การเก็บข้อมูลภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอนกับการเพิ่มพลังอำนาจของครูวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยหลักในการพัฒนาภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มพลังอำนาจของครูประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ (1) ภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอน มี 6 ปัจจัยย่อย และ (2) การเพิ่มพลังอำนาจของครูมี 11 ปัจจัยย่อย เมื่อนำรูปแบบไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง พบว่า สามารถทำให้ครูมีภาวะผู้นำด้านการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มพลังอำนาจของครูสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

References

เกรียงศักดิ์ เลาหะวัฒน์. (2553). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา.วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษาและผู้นำการเปลี่ยนแปลง, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

ทองคูณ หงส์พันธุ์. (2544). ครูสอนดีต้องมีหลักการสอน.ค้นจากhttp://www.kruthacheen.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538682538&Ntype=3

ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 7 ฉบับพิมพ์เพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บรรเจิด อุ่นมณีรัตน์.(2552). รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มพลังอำนาจการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1), 77-88.

ประศาสน์ ปรีชม. (2548). การเสริมสร้างอำนาจให้ครูโดยผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 . สารนิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปิยะธิดา วรญาโณปกรณ์. (2547). การพัฒนาตัวบ่งชี้รวมการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยและวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 2(1), 150-166.

เพลินใจ พฤกษชาติรัตน์. (2549). การพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษาและผู้นำการเปลี่ยนแปลง,

มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

สมชาย บุญศิริเภสัช. (2545). การศึกษาการเพิ่มพลังอำนาจการทำงานของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตการศึกษา 8ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมาน อัศวภูมิ. (2537). การพัฒนารูปแบบการบริหารการปะถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมร ปาโท. (2552). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1), 99-109.

สำนักงานเลขาธิการการศึกษา. (2551). รยงานการวิจัย วิธีวิทยาการประเมินความสำเร็จของการศึกษาเพื่อเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: เพลิน สตูโอ.

Blasé, J. & Blasé ,J. R. (1994). Empowering Teachers: What Successful Principals Do. California: Corwin Press.

Burger, J. M. (2007). Personality (7th ed.). New York: Thompson.

Eisner, E. W. (1975). The perceptive eye: Toward the reformation of educational evaluation. Occasional Papers of the Stanford Evaluation Consortium. Stanford, CA: Stanford University Press.

Fullan, M. (1994). Implementation of innovations. The International Encyclopedia of Education (2nd ed.). Pergamon: Oxford .

Hallinger, P. (2003). Leading Educational Change: reflections on the practice of instructional and transformational

leadership. Cambridge Journal of Education, 33(3).

Keeves, P. J. (1988). Educational research, methodology and measurement. An International Handbook. Oxford: PerGam on Press.

Klecker, B. M. &Loadman, W.E. (1996). Dimension of teacher empowerment: Identifying new roles for classroom teacher in restructuring schools. Retrieved from http://ehostvgw16.epnet. Com

Mouly,V. S., Smith, A. C. & Sankaran, J. (1999). Perception of empowerment: Insights from two new zeland organizations in business ethics in theory and practice: Contributions form asia and new zeleand. Dordrecht: Kluwer Academic.

Short, P. M., & Greer, J. T. (1997). Leadership in empowered schools: Themes from innovative efforts.

Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Strodl, P. (1992). A model of teacher leadership. Paper presented at the annual meeting of the Eastern educational Research Association, Hilton Head, SC.

Yamane, T. (1970). Statistics : Introductory analysis (2nd ed.) New York: Harper and Row.

York-Barr, J. & Duke, K. (2004). What do we know about teacher leadership? Findings from two decades of scholarship. Review of educational research, 74(3), 255–316.

Downloads

Published

2015-04-30

Issue

Section

บทความวิจัย