R2R: Routine to Research กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
Keywords:
R2R, พัฒนาคน, พัฒนางาน, พัฒนาคุณภาพการศึกษา, ผู้บริหารการศึกษา, องค์กรแห่งการเรียนรู้Abstract
R2R: Routine to Research กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นแนวทางที่เป็นความท้าทายสำหรับผู้บริหารการศึกษาที่จะนำมาใช้ในองค์กรเพื่อพัฒนาคนให้พัฒนางานอันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หลังจากมีการดำเนินการนำ R2R ไปใช้ในหน่วยงานทางบริการสุขภาพ และหน่วยงานที่ส่งเสริมคุณภาพงานทางสุขภาพอย่างประสบความสำเร็จและเป็นรูปธรรม จึงควรมีการสนับสนุนให้ผู้บริหารการศึกษาใช้ R2R ในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคนและคุณภาพการศึกษา
References
เกษม วัฒนชัย. (2555). ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย Routine to Research (R2R) ครั้ง
ที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” ระหว่างวันที่ 10-12 กรกฎาคม 2555 ณ. ศูนย์การประชุม
อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี. ค้นจาก http://www2.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?
NewsID=9550000085861
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (2557). โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนางาน
ประจำสู่การวิจัย“R2R .” ค้นจาก http://nu.cpru.ac.th/thai/?p=668
เฉลิม วราวิทย์ (2557). R2R and Transformative Learning. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงาน
ประจำสู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 7 “เสริมพลัง สร้างคุณภาพ สู่สุขภาวะ” วันที่ 24 กรกฎาคม 2557
ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี. ค้นจาก http://www.r2rthailand.org/news
/detail/1595
ปนัดดา จันทวีศิริรัตน. (2557). R2R and Transformative Learning. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงาน
ประจำสู่งานวิจัย (R2R) ครั้งที่ 7 “เสริมพลัง สร้างคุณภาพ สู่สุขภาวะ” วันที่ 24 กรกฎาคม 2557
ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี. ค้นจาก http://www.r2rthailand.org/news
/detail/1595
ประสิทธ์ วัฒนาภา. (2557). R2R และTransformative Learning. นิตยาสารสุขศาลา สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 6(22),
-57.
ประเวศ วะสี. (2557). R2R เครื่องมือเสริมพลัง สร้างคุณภาพ สู่สุขภาวะ. นิตยาสารสุขศาลา สำนักวิจัยสังคม
และสุขภาพ, 6(22), 17.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2555). จดหมายข่าววิจัยสถาบัน มทส. ค้นจาก http://web.sut.ac.th/2012/
images/upload/newsletter/15/15/newsletter.pdf
มุกดา สีตลานุชิต. (2531). การศึกษาผลของการสอนโดยใช้หุ่นจำลองประกอบ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ
ความคงทนของความจำ เรื่อง การวัดความดันเลือดดำส่วนกลางในนักศึกษาพยาบาล ที่มีระดับความสามารถ ต่างกัน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล.
มุกดา สีตลานุชิตและแสงอรุณ ใจวงศ์ผาบ. (2554). การพัฒนาต้นแบบการพัฒนาระบบการคิดในกระบวนการพยาบาล
ในอาจารย์พี่เลี้ยงของนักศึกษาพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 7(13), 76-83.
มุกดา สีตลานุชิต, พิมใจ ทวีพักตร์ และแสงอรุณ ใจวงศ์ผาบ. (2553). การศึกษาผลการใช้มุกดาโมเดลในการพัฒนา
ระบบการคิดในกระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ชัยนาท. การประชุมวิชาการราชภัฏสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 6 การวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ ประจำปี
สุราษฎร์ธานี: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
วิจารณ์ พานิช. (2551 ). R2R: Routine to Research :สยบงานจำเจด้วยการวิจัย สู่โลกใหม่ของงานประจำ.
ค้นจาก Website http:// www.hsri.or.th
ศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรังสิต. (2557).โครงการฝึกอบรมสําหรับอาจารย์และบุคลากร
มหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง การพัฒนางานประจําสู่งานวิจัย Routine to Research (R2R). ค้นจาก
http://www.rsu.ac.th/hrd/resources/document/R2R2556.pdf
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (2551). จากงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research R2R): เสริมพลัง
สร้างสรรค์และพัฒนา. ค้นจาก https://www.gpo.or.th/rdi/Present11.ppt
สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล. (2556). ผลักดัน - พัฒนา: ก้าวสู่ 1 ทศวรรษ วิจัย R2R. HSRI Forum, 2 (4), 4.
ค้นจาก http://old.hsri.or.th/sites/default/files/hsriforum-4_2013.pdf
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2557). 5 องค์กรสุขภาพหนุนทำ R2R. ค้นจาก
http://www.thaihealth.or.th/Content/19671-5%20องค์กรสุขภาพหนุนทำ%20R2R.htm