ยุทธศาสตร์การบริหารการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหาร

Authors

  • Kanlaya hongprom

Keywords:

ยุทธศาสตร์การบริหาร, การบริหารจัดการความขัดแย้ง, เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2

Abstract

 

การวิจัย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การบริหารการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 (2) เพื่อเปรียบเทียบยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยจำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 จำนวน 270 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t-test และทดสอบค่า F-test ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ใช้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ความขัดแย้ง ในภาพรวม อยู่ในระดับการปฏิบัติ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้บริหารใช้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความขัดแย้ง เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ยุทธศาสตร์การเอาชนะ ยุทธศาสตร์การเจรจาต่อรอง ยุทธศาสตร์การร่วมมือ ยุทธศาสตร์การหลีกเลี่ยง ยุทธศาสตร์การยอมให้ ยุทธศาสตร์การเผชิญหน้า และยุทธศาสตร์การประนีประนอม

 

References

กำจัด คงหนู. (2537). วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของศึกษาธิการอำเภอ เขตการศึกษาที่ 5. ปริญญานิพนธ์การศึกษา

มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

จิตต์อร่าม ศิรินิกร. (2540). ความคิดเห็นของผู้บริหารและบุคลากรเกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีการ จัดการกับความขัดแย้งในสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด เขตการศึกษา 11. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เจริญ โคกสีอำนวย. (2530). วิธีแก้ความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในเขต กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ชนัดดา เหมือนแก้ว. (2543). เมื่อเผชิญหน้ากับความขัดแย้ง. วิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2(2),94-99

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎพระนคร.

ณรงค์ กังน้อย. (2545). ยุทธวิธีการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัด

สุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, สถาบันราชภัฏ นครปฐม.

ดิเรก ทรัพย์ประเสริฐ. (2538). วิธีการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานด้าน

วิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บงกช ยุวนะเตมีย์. (2538). การศึกษาวิธีแก้ความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด กรมสามัญศึกษาในเขต การศึกษา 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการจัดการ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พรนพ พุกกะพันธุ์. (2542). การบริหารความขัดแย้ง. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ไพฑูรย์ นามบุญลือ. (2544). การจัดการความขัดแย้งในโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนจังหวัด หนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ลำจวน ชื่นธงชัย.(2551) การจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษา ชัยภูมิเขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

วรศักดิ์ สมฤทธิ์. (2541). แบบพฤติกรรมที่แสดงออกในสถานการณ์ความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอฝางจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหา บัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วัชรพล มนตรีภักดี. (2550). พฤติกรรมความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 1. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วันชัย วัฒนศัพท์. (2547). ความขัดแย้งหลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.

วินิจ เกตุขำ. (2535). มนุษย์สัมพันธ์สำหรับผู้บริหารยุคใหม่. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

วิภาภรณ์ พึ่งอารมณ์. (2551). พฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของ ข้าราชการครูสำนักงานเขตจัตุจักร กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

วีระพงษ์ แสนโภชน์. (2535). ศึกษาวิธีการแก้ไขความขัดแย้งตามแบบของโธมัส-คิลแมนน์ของผู้บริหารโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดสามัญศึกษา เขตการศึกษา 9. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศจี อนันต์นพคุณ. (2542). กลวิธีการบริหารงานอย่างมีคุณภาพ. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

เสน่ห์ โสมมนัส. (2538). การศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีจัดการกับความขัดแย้งของผู้บริหาร โรงเรียน ประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสาน มิตร.

สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2541). พฤติกรรมองค์การ: ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2534). ความขัดแย้งการบริหารเพื่อความสร้างสรรค์. กรุงเทพ ฯ: ตะเกียง.

สุนันทา เลาหนันทน์. (2540). การสร้างทีมงาน. กรุงเทพฯ: แฮนด์เมดสติกเกอร์แอนด์ดีไซน์.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2. (2549). เอกสารฝ่ายบุคลากร.เอกสารอัดสำเนา: ผู้แต่ง.

สุกัญญา เพาะแป้น. (2552). เปรียบเทียบวิธีการแก้ปัญหาความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสระแก้ว เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัย บูรพา.

สุรชัย อนุมาศ. (2546). สาเหตุและวิธีการจัดการความขัดแย้งของงานฝ่ายปกครองในมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสมเด็จเจ้าพระยา.

สุรางค์ โล่สัมฤทธิ์ชัย. (2536 ). สาเหตุของความขัดแย้งและวิธีการกับความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาใน เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

เสกโรจน์ ถ้วนถวิล. (2541). สาเหตุของความขัดแย้งและวิธีจัดการกับความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา

จังหวัดพัทลุง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ

โรฒประสานมิตร.

สมเดช ภู่ศรี. (2541). พฤติกรรมของผู้บริหารที่แสดงออกในสถานการณ์ขัดแย้งเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลใน

โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมยศ นาวีการ. (2538). การบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 4.) กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

สมยศ นาวีการ. (2540). การบริหารพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.

สมหวัง วิทยาปัญญานนท์. (2546). กลยุทธ์ในการสื่อสารองค์กร.ค้นจาก www.melerum.comthe twelve Dime sione of

strategic intrcnal communition, By Thomas J lee.

อรุณ รักธรรม. (2536). การบริหารความขัดแย้ง (พิมพ์ ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). การบริหารงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ:

คุรุสภา.

อรุณี ชอบพิมาย. (2546). การศึกษาพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษาในจังหวัด นครราชสีมา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครราชสีมา.

อาวุธ โอชาพงษ์. (2547). ความพึงพอใจของครูต่อวิธีการแก้ปัญหาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏราช นครินทร์.

Betty, P. (1985). The Relationship between management experience and conflict management style of men and of women in community college administration. Dissertation Abstracts International, 46, 2810-A.

Published

2015-04-30

Issue

Section

บทความวิจัย