การพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Authors

  • วิเชษฐ เทียนทอง

Keywords:

วัฒนธรรมการเรียนรู้, การเรียนรู้, การพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้, โรงเรียนเทศบาล

Abstract

การวิจัยแบบผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น; (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น; (3) กระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น; (4) ประเมินความเป็นไปได้และความเหมาะสมกระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นผู้บริหาร หัวหน้าวิชาการและครู จำนวน 375 คน มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ∞ = 0.966  การวิเคราะห์สถิติด้วยค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการจัดทำการสนทนากลุ่ม โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลฯ ประกอบด้วย 3 ด้าน และปัจจัยวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 9 ด้าน (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลฯ ประกอบด้วย 6 ด้าน (3) กระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาลฯ ที่ได้พัฒนาขึ้นประกอบด้วย สภาพวัฒนธรรมการเรียนรู้ 5 ด้าน และกระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้ 8 ด้าน (4) ผลประเมินความเป็นไปได้และความเหมาะสมของกระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพบว่า มีความเป็นไปได้ และความเหมาะสมที่จะนำไปเป็นกระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล

References

กลุ่มกฎหมายการศึกษา. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ “ฉบับใช้งานที่สมบูรณ์ 5 ปี”. กรุงเทพมหานคร: สูตรไพศาล.

จันทิมา พรหมเกษ, วีระ ธันยาภิรักษ์ และเจษฎา พรหมเกษ. (2554). การวิจัยเชิงประจักษ์เกี่ยวกับ ความยุติธรรมในองค์การเป็นตัวกลางท่ามกลางความสัถมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมการ เรียนรู้ขององค์การ, ความพึงพอใจของพนักงาน และความผูกพันของพนักงานใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิชา บริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร.

ณรงค์ รอดพันธ์. (2542). ครูกับการพัฒนาตนเอง. ข้าราชการครู, 19(3), 37-39.

พิสิฐ พูลสวัสดิ์. (2548). วัฒนธรรมองค์การกับความผูกพันต่อสถานศึกษาของครู ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วันเพ็ญ บุรีสูงเนิน. (2552) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขต พัฒนาพื้นที่ชายฝังทะเลตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2545). โรงเรียนองค์การแห่งการเรียนรู้แนวคิดทางการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ทิพย์วิสุทย์.

สมคิด สกุลสถาปัตย์. (2552). รูปแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลในการปฏืบัติ การศึกษาแบบยั่งยืน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมาน รังสิโยกฤษฎ์. (2541). หลักการบริหารเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพมหานคร: ประชาชน.

สุมน คณานิตย์. (2552). รูปแบบการวางแผนกลยุทธ์ด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). รายงานการประชุมทาง วิชา เรื่อง ทิศทางวัฒนธรรมกับการศึกษาในกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.

Baek-Kyoo & Lim, Taejo. (2009).The Effects of organizational learning culture, perceived job complexity, and proactive personality on organizational commitment and intrinsic motivation. Journal of Leadership & Organizational Studies, 16(1)(August 2009), 48-60.

Baek-Kyoo, J. & Sunyoung, P. (2010). The effects of goal orientation, organizational learning culture and developmental feedback. In Journal of Leadership & Organization Development, 31(6), 482-500.

Baek-Kyoo, J. (2010). Organizational commitment for knowledge workers: the roles of perceived organizational learning culture, leader-member exchange quality, and turnover intention.

San Francisco. California: Jossey-Bass.

Bates, R. & Khasawneh, S. (2005). Organizational learning culture, learning transfer climate and perceived innovation in Jordanian organizations. International Journal of Training and Development, 9(2), 96-109.

Brown, M. (2009). Look both ways: Working to develop a professional learning culture. Theme: Creating a professional culture. ACSA Biennial Conference, Canberra, (October 2009), 1-26.

Deal, T. E. & Peterson, K. D. (1990). The Principal’s role in shaping school culture. Washington D.C.: Office of Educational Research and Improvement.

Gephart, M. A. & Marsick, V.J. (1996). Finding Common and Uncommon Ground among Learning Organization Model. In Proceeding of the Fourth Annual Conference of the Academy of Human Resource Development.LA : Academy

Gibson, J. L., John M. I. & James. (2011). Organizations: Behavior, Structure, Process (4th ed.). Texas: Business Publication.

Heaney, D. (2007). Step 5.4 Performance and Learning Culture. Resources for Implementing the WWF Project & Program me Standards, (January 2007), 1-10.

Islam, T. & et al. (2013). Organizational Learning Culture, Social Exchange Relations and Multifoci Citizenship Behaviors: A Literature Survey Approach. In World Journal of Management and Behavioral Studies, 1(1), 06-13.

James, W. Paul, H. & Kenneth, H. B. (1972). Management of organizational behavior utilizing human resources (2nd ed.). n.p.

Johnston, R. & Hawke, G. (2002). Case studies of organizations with established learning cultures. Adelaide,South Australia: National Centre for Vocational Education Research.

Paige, M. R., et al. (2003). (2003). Culture learning in language education: A review of the literature. In D. Lange, & R. M. Paige (Eds.), Culture as the core: Integrating culture into the language education. Greenwich, CT: Information Age.

Pasebani, F., Mohammadi, S. & Yektatyar, M. (2012). The relationship between organizational learning culture and job satisfaction and Internal service quality in sport organizations in Iran. Archives of Applied Science Research, 4(4), 1901-1905.

Pedler, M. J., Burgoyne, J. G. & Boydell, T. (1991). The Learning Company: A strategy for sustainable development. Maidenhead: McGraw-Hill Book Company.

Schein, E. H.. (1999). The Corporate culture survival guide: Sense and nonsense about culture change. California: Jossey-Bass.

Schoonbeek, S. & Henderson, A. (2011). Shifting workplace behavior to inspire learning: a journey to building a learning culture. Journal of continuing education in nursing, 42(1), 43-48.

Senge, P. M. (1990). The Fifth discipline: The art and practice of learning organization. New York: Doubleday.

Skerlavaj, M., Song, J. & Lee, Y. (2010). Organizational learning culture, innovative culture and innovations in south Korean firms. Journal Expert Systems with Applications, 37, 6390–6403.

Downloads

Published

2015-12-31

Issue

Section

บทความวิจัย