การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และเขต 2

Authors

  • ถวิล ศรีใจงาม

Keywords:

ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง

Abstract

การวิจัยแบบผสมเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ  นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และเขต 2;  (2) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา;   และ (3) ตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า  (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา  ประกอบด้วยการเป็นผู้มีวิสัยทัศน์  การให้คุณค่าและความสำคัญต่อทรัพยากรมนุษย์  การเป็นนักสื่อสารและฟัง การมีพฤติกรรมเชิงรุก และ การเป็นผู้กล้าเสี่ยง ภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด;  (2) องค์ประกอบของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา รูปแบบเชิงระบบของเบอร์ทาลันฟ์ฟี่ เป็นการอบรมเชิงกระบวนการ  ดังนี้: ข้อมูลเชิงอนาคต /บริบท  นำเสนอภาพรวมการสำรวจสภาพภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา  ประเมินภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของผู้เข้ารับการพัฒนา การกำหนดตัวป้อน  องค์ความรู้ สำหรับผู้เข้ารับการพัฒนา  การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์  ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ; ( 3) การกำหนดกระบวนการ: บรรยายให้องค์ความรู้ที่จำเป็นแก่ผู้เข้ารับการพัฒนา; วางแผนการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ; นำ ITLSS ไปปฏิบัติงานในสภาพความเป็นจริงเป็นเวลา 6 เดือน เพื่อสร้างทักษะ;ประเมินภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง; ผลผลิต และ ข้อมูลป้อนกลับ

References

ขวัญชัย จะเกรง. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหาร

โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 3 - 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสมุทรสงคราม. การศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.

นฤมล สุภาทอง. (2550). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). สกลนคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วิเชียร ชิวพิมาย. 2550. องค์การและภาวะผู้นำ. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2550. การประเมินความพร้อมของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). สาระสำคัญการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561). สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม2554, จาก http://chusak.igetweb.com/index.php.518285.

สุริยนต์ เถายะบุตร. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะองค์การกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อประสิทธิผล โรงเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

Bass, B. M. & Bruee, J. A. (1994). Improving organization effectiveness through transformational leadership. Thousand Oaks : Sage.

Brown, W. B. & Moberg, D. J. (1980). Organization theory and management : A macro approach. New York: John Wiley & Sons.

Creswell, L. & Clark, P. (2007). Education decentralization revisited school-based management.

The third Intemational. Bangkok: Forum on Educational Reforms.

Crowson, R. L. (1989). Managerial Ethics in educational administration: The rational choice approach. Urban Education, 23(4), 412-435.

Joiner , C. W. (1987). Leadership for change. Cambridge, MA: Ballinger Publishing Company.

Kavanagh, Marie H. and Neal M. Ashkamasy. (2006). “The Impact of Leadership and Chang Management Strategy on Organizational Culture and Individual Acceptance of Change During an Merger,” British Journal of Management, 17, 82-88.

Mazzarella, J. A. & Grundy, T. (1989). Portrait of a leader. In S.C. Smith & P.K. Piele, School leadership: Handbook for Excellence Second Edition. Office of Educational Research and Improvement. Washington, D.C.: OERI.

Meredith, C. L. (2008). The relationship of emotional intelligence and transformational leadership. Behavior in Non-Profit Executive Leaders, Dissertation Abstracts International, 68(11), unpaged; May.

Méndez -Morse, S. E. (1991). The Principal’s role in the instructional process: implications for at risk Students. Retrieved from http://www.sedl.org / change / leadership.

Nickse, R. S. (1977). Teacher as change agents. Washington, D.C.: National Education Association.

Pitner, N. J., & Ogawa, R. T. (1981). Organizational leadership: The case of the school superintendent. Educational Administration Quarterly, 17(2), 45-65.

Rosenholtz, S. J. (1987). School success and the organizational conditions of teaching. In J.J. Lane & H.J. Walberg (Eds.), Effective school leadership: Policy and Process. Berkiley. CA: McCutchan Publishing Corporation.

Shelton, C. K., & Darling, J. R. (2001). The quantum skills model in management: A new paradigm to enhance effective leadership. Leadership and organizational development journal, 22(6), 264-273.

Willer, A. (1997). School Administrator's Staff Development Activities Manual. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.

Downloads

Published

2015-12-31

Issue

Section

บทความวิจัย