ปัญหาความยากจนในสังคมไทย
Keywords:
ปัญหาความยากจน, สาเหตุที่ทำให้เกิดความยากจน, แนวทางการแก้ปัญหาความยากจนAbstract
ปัญหาความยากจนเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยที่สั่งสมมานาน เป็นภาวะความขาดแคลนไม่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ในระดับบุคคลส่งผลให้เกิดความทุกข์ยากในการดำเนินชีวิต รวมถึงการขาดโอกาสที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตในหลาย ๆด้าน และส่งผลต่อการพัฒนาในระดับประเทศตามมาในที่สุด จากการวิเคราะห์ พบว่า ปัญหาและสาเหตุของความยากจนมาจากสาเหตุสำคัญสองประการ คือ สาเหตุจากปัจจัยภายในตัวบุคคล และสาเหตุจากปัจจัยภายนอกตัวบุคคล บทความนี้มุ่งนำเสนอ ความหมายของความยากจน ลักษณะของความยากจน สาเหตุของความยากจน และแนวทางการแก้ปัญหาความยากจนในสังคมไทย
References
คณะกรรมาธิการการปกครอง วุฒิสภา. (2545). คณะกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการแก้ไขปัญหาความยากจนของ ประชาชน. ม.ป.พ.
จักรกฤษณ์ นรติผดุงการ. (2523). แนวความคิดใหม่ในการพัฒนาชนบทการวางแผนพัฒนาจังหวัด อำเภอ ตำบล: ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สารมวลชน.
วิทยากร เชียงกูล. (2547). พัฒนาการแบบยั่งยืนกับการแก้ปัญหาคนจน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2548). นโยบายประชาสินบนกับการแก้ปัญหาความยากจนไม่ใช่เรื่องเดียวกัน. ค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/300878.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543). คนจนกับนโยบายทำให้จนของรัฐ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์
ประเวศ วะสี. (2542). เพื่อคนจน: ถอนโครงสร้างความยากจน. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
มูลนิธิชัยพัฒนาและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). จะแก้ไขปัญหาความ ยากจนกันอย่างไร: แข่งขันแจกจ่ายหรือสวัสดิการ. กรุงเทพฯ: มูลนิชัยพัฒนาและสำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2517). ปัญหาเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันและอนาคต. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
ศุภเจตน์ จันทร์สาส์น. (2551). เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำวัน. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
เสน่ห์ จามริก. (2543). คลังสมองคนจน. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการเมือง.
สถาบันวิจัยเพื่อการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2546). สถานการณ์ความยากจนในประเทศไทย. ค้นจาก http://www.tdri.or.th/poverty/report1.htm.