รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล
Keywords:
ภาวะผู้นำ, โรงเรียนมัธยมศึกษา, โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลAbstract
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (2) สร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและ (3) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ประชากรได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล จำนวน 381 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ภาพรวม พบว่า การเป็นผู้กล้าเสี่ยง การมีพฤติกรรมเชิงรุก การมีความเชื่อว่าสถานศึกษาเป็นสถานที่สำหรับการเรียนรู้ และการเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ อยู่ในระดับมากที่สุด (2) การสร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง บริบทของโรงเรียนมาตรฐานสากล การกำหนดตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต ข้อมูลป้อนกลับ และเงื่อนไขความสำเร็จ (3) การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้ร่วมการประชุมสนทนากลุ่ม พิจารณาร่วมกันเห็นด้วยใน ความถูกต้อง ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์
References
ขวัญชัย จะเกรง. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 3–4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม. สารนิพนธ์ การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2544). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2549). การพัฒนาและฝึกอบรมบุลากรที่ CEO อยากเห็น. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.
ปิ่นนเรศ อุตตมะเวทิน. (2555). รูปแบบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นบูรณาการความหลากหลายทาง
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของชนกลุ่มน้อยในภาค ตะวันออกของประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์, 2(2).
ไมตรี คงนุกูล. (2552). การศึกษาภาวพผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนนานาชาติคินเคดกรุงเทพ.
สารนิพนธ์การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ.
สุริยนต์ เถายะบุตร. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะองค์การกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนใน
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราช
ภัฎสกลนคร.
สมชาย หิรัญดิตติ. (2542). การบริหารทรัพยากรมุนษย์. กรุงเทพฯ: Diamond in Business World.
สมลักษณ์ มธุรสสวรรณ. (2548). การพัฒนารูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงทเพฯ : การศาสนา, 2548.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). การประเมินความพร้อมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.
กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). สาระสำคัญการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรณที่สอง (พ.ศ. 2552-2561).
ค้นจาก http://chusak.igetweb.com/index.php.518285.
Brown, W. B. & Moderg, D. J. (1980). Organization theory and management: A Macro approach. New York:
John Wiley & Sons.
Beer, M. (2006). Managing change and transition. Harvard Business School Publishing Corporation.
Covey, S. R. (1990). The seven habits of highly effective people. Retrieved from https://www.stephencovery.com
/7habits/7habitshabit1.php.
Crowson, R. L. (1989). Managerial ethics in educational administration: The rational choice approach.
Urban Education, 23(4), 412-435.
Joiner Jr., C. W. (1987). Leadership for change. Cambridge, MA : Ballinger Publishing Company.
Jonathan, J. (2007). The leadership of transition: Correction, cociliation and change in South African
education. Springer Science & Business Media B.V. 8, 91-103.
Kavanagh, M. H. & Neal, M. A. (2006).The impact of leadership and change management strategy
on organizational culture and individual acceptance of change during an merger. British Journal of Management, 17, 82-88.
Kotter, J. P., & Cohen, D. S. (2002). The heart of change. Boston. Massachusetts: Harvard Business School Press.
Mazzarella, J. A. & Grundy, T. (1989). Portrait of a leader. In S.C. Smith & P.K. Piele, School leadership:
handbook for excellence second edition. Office of educational research and improvement. Washingtion. D.C: OERI.
Méndez-Morse, S. (1992). Leadership characteristics that facilitate school change. Retrieved from http://www.sedl.org/change/leadership.
Pitner, N. J., & Ogawa, R. T. (1981). Organizational leadership: The case of the school superintendent.
Educational Administration Quarterly, 17 (2), 45-65.
Rosenholiz, S. J. (1987). School success and the organizational conditions of teaching. Berkiley. CA:
McCutchan.
Sarason, S. (1982). The Culture of the school and the problem of change. Boston: Allyn and Bacon.
Shelton, C. L., & Darling, J. R. (2001). The quantum skills model in management: a new paradigm to enhance
effective leadership. Leadership and organizational development journal, 22(6), 264-273.
Thompson, Arthur A. & Strickland, A. J. (1999). Strategic management: Concepts and cases (11th ed.). Boston:
McGraw-Hill.
Wheelem, T. L. & David, J. H. (2000). Strategic management and business policy (8th ed.). New York: Prentice-Hall.
Whitlock, J. L. (2003). Strategic thinking, planning, and doing: How to reunite leadership and management
to connect vision with action. Paper Presented at the American Society for Public Administration 64th Annual Conference. March 15-18, Washington, D.C.