สิทธิของเหยื่ออาชญากรรมกับการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทย

Main Article Content

มูฮัมหมัดรอฟีอี มูซอ, 6852279

Abstract

This study attempts to explore laws or regulations in regard to the protection of crime victims’ rights focusing on Thai newspaper coverage. The data of this qualitative research was collected from existing documents. The study found that crime victims’ rights have been promoted at national and international levels. In Thailand, crime victims' rights are applied mostly in the criminal justice procedure where punishments and indemnities are clearly imposed. Although the Press Council of Thailand has issued the Code of Ethics for journalists (1998 C.E.), little enforcement has been conducted.

Article Details

How to Cite
มูซอ ม. (2018). สิทธิของเหยื่ออาชญากรรมกับการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชนไทย. Al-HIKMAH Journal, 6(12), 71–77. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/116344
Section
Research Article

References

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. 2551. สังคมวิทยาอาชญากรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา. 2554. “แนวปฏิบัติสำหรับการสื่อข่าวภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบ”. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 มีนาคม – เมษายน.

สุรพล ศุขอัจจะสกุล. 2552. ‘กรอบแนวคิดและทบทวนวรรณกรรม การคุ้มครอง “เหยื่อ” ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา’ใน จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย และกลมทิพย์ คติการ (บรรณาธิการ). การคุ้มครองเหยื่อในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา. นนทบุรี: คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย.

อัณณพ ชูบำรุง และ อนุษา เลิศโตมรสกุล. 2555. อาชญากรรมและอาชญาวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิรักษ์ ทิมวงศ์, 2544. สิทธิของเหยื่ออาชญากรรมในกฎหมายระหว่างประเทศ: ผลกระทบต่อประเทศไทย. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.