สภาพ ปัญหา และแนวทางการดำเนินการตามกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี

Main Article Content

ซาลีฮ๊ะ สาและ, 6852279
นิเลาะ แวอูเซ็ง

Abstract

The purposes of this research were to study and compare operations in strategic management of Islamic private schools under the Office of Private Education, Pattani Province based on position, age, educational qualification, work experiences, and school sizes and to collect information about the problems and to propose guidelines on operations in strategic management of the schools. The samples used in this research consisted of 33 school directors, 132 heads of administrative section and 33 school teachers, making a total of 198 samples. The data was collected with questionnaires and interviews. The collected quantitative data was analyzed by statistical software computer program to report descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. And the qualitative data was analyzed by content analysis.


It was found from this study that the level of operations in strategic management of Islamic private schools for the overall level was high. Considering each dimension, it was found that the level of the implementation of school strategy, the analysis of the school environment and the formulation of school strategy were high. While, the level of the formulation of school direction and the operation in strategic control, monitor and evaluation of the schools were moderate. On the comparative analysis of operations in strategic management of Islamic private schools, the results showed that the level of operations in strategic management of the schools was found to have a statistically significant differences at .05 between group with respect to position, age, educational qualification, work experiences, and school sizes for most of overall and each dimension.


The problems and the proposed suggestions on operations in strategic management of Islamic private schools can be concluded into 5 dimensions as below:- 1) On the analysis of the school environment. 2) On the formulation of school direction.3)On the formulation of school strategy. 4) On the implementation of school strategy and 5)On the operation in strategic control, monitor and evaluation of the schools.

Article Details

How to Cite
สาและ ซ., & แวอูเซ็ง น. (2018). สภาพ ปัญหา และแนวทางการดำเนินการตามกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี. Al-HIKMAH Journal, 6(12), 107–119. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/116350
Section
Research Article

References

กาญจนา ศิริวงค์ .2552. การบริหารเชิงกลยุทธ์ในโรงเรียนเถินวิทยา อำเภอเถินจังหวัดลำปาง. ปริญญาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

จารุวัจน์ สองเมือง และคณะ.2552. โครงการวิจัยระบบและกลไกประกันคุณภาพภายในโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม. โครงการความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการพัฒนาการศึกษา จังหวัดชายแดนใต้ (สคศต.)และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)(สำเนา).

ซอฝีเย๊าะ หวังหลี .2555. การดำเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล.วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลามมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ทรงศักดิ์ ศรีวงษา.2550.การบริหารเชิงกลยุทธ์ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาอุดรธานี.วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

นิตยา เงินประเสริฐศรี.2553.การบริหารเชิงกลยุทธ์: คู่มือสู่การปฏิบัติ.บทความในวารสาร สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 30(3) หน้า 145-176 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์

นิเลาะ แวอุเซ็ง และคณะ. 2552. บทความวิจัยเรื่อง การจัดการศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ .ปัตตานี:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

นันทพล พงษ์สรอย. 2550. สภาพและปัญหาการดำเนินการวางแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี.วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

พิมลพรรณ ดุษิยามี.2550. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน.สารนิพนธ์ หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษาภาควิชาการ บริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

พิสณุ ฟองศรี. 2554. วิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8 .กรุงเทพฯ:บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด

วิเชียร เวลาดี.2547.การนำเสนอรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา.วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

เสริมศักดิ์ นิลวิลัย. 2549. รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์โดยใช้การประเมินผลเชิงดุลยภาพสำหรับสถานศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคใต้ 1 สังกัดสำนกงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา. หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน.2543.สรุปการพัฒนาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในเขตการศึกษา 2,3และ4.กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

อุทุมพร พัชรารัตน์ .2547.ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์ใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม