ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรกับอัตราผลตอบแทน จากส่วนต่างราคาหุ้นของบริษัทในหมวดธุรกิจพาณิชย์ที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Keywords:
ความสามารถในการทำกำไร, อัตราผลตอบแทนจากส่วนต่างราคาหุ้น, บริษัทหมวดพาณิชย์Abstract
The objective of this study was to study the relationship between profitability and rate of return in capital gain yield of business and commerce sectors listed in the Stock Exchange of Thailand. The research was conducted by analyzing the data collected from 15 companies and interview Yala local investors. The results of this study were as follows: 1) The Profitability Ratio of Return on Asset(ROA) had the negative relationship with rate of return in capital gain yield of COL Public Company Limited at a significant level of 0.05. 2) The Profitability Ratio of Return on Equity(ROE) had the negative relationship with rate of return in capital gain yield of COL Public Company Limited at a significant level of 0.05. 3) The Profitability Ratio of Net Profit Margin(NPM) had the negative relationship with rate of return in capital gain yield of COL Public Company Limited at a significant level of 0.05. 4) The Profitability Ratio of Operating Income Margin(OIM) had the negative relationship with rate of return in capital gain yield of COL Public Company Limited at a significant level of 0.05 and had positive relationship with rate of return in capital gain yield of Mida Assets Public Company Limited at a significant level of 0.05. 5) The Profitability Ratio of ROA, ROE, NPM and OIM of business and commerce sectors had no influence on rate of capital gain yield of business and commerce sectors listed in the Stock Exchange of Thailand. The results of interviews revealed that factors affecting SET business and commerce group index include domestic and global economic, the reliability of consumers and government policy on economic promoting. In case of the negative tendency of future economy, the assumption includes the most securities will decrease or in case of the positive tendency of future economy, the assumption includes the most securities will increase.
References
นันทนา ศรีสุริยาภรณ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่มธนาคารที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
บุญนาค เกิดสินธุ์. (2554). ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาตลาดของหลักทรัพย์กลุ่มพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ห้างหุ้นส่วนจำกัดทีพีเอ็น เพรส.
วิมุตติ พินิจกุล. (2555). การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้วยเครื่องมืออัตราส่วนทางการเงินของบริษัทที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ หมวดธุรกิจพาณิชย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
จุลนิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปกร.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2561). ค้าปลีกปี’61แข่งดุ. [Online], เข้าถึงได้จาก : https://www.khaosod.co.th/newspaper-column/economic-wheel/news_727476 [2561, มกราคม 31]
สุจิตตา พึ่งแรง. (2553). ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อดัชนีราคาหลักทรัพย์หมวดพาณิชย์. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สุรกิจ คำวงศ์ปีน. (2555). การศึกษาเปรียบเทียบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จกับกำไรขาดทุนสุทธิของธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัย-นอร์ท-เชียงใหม่.
สัณฑพงศ์ คล่องวีระชัย. (2557). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับอัตราการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ในหมวดธุรกิจหลักของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
อริยพงศ์ พันธ์ศรีวงค์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทนระยะยาวและผลการปฏิบัตต่อผู้มีส่วนได้เสียของกิจการที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อสาธารณะเป็นครั้งแรกในตลาดหลักทรัพย์. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.