ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3

Authors

  • อัลอามีน ซียง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • กนกกร ศิริสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

Keywords:

Good governance administration, School effectiveness, School administration

Abstract

This independent study aimed to 1) study good governance administration of school administrators under Yala Primary Educational Service Area, Office 3, 2) study school effectiveness under Yala Primary Educational Service Area, Office 3, and 3) study the relationship of good governance administration and school effectiveness under Yala Primary Educational Service Area, Office 3. The subject consisted of 193 teachers in school under Yala Primary Educational Area, Office 3 in the A.D. 2021 academic year, using Krejcie and Morgan’s table in setting sample size, the stratified random sampling technique in classifying school size and the simple random sampling technique in choosing the subject. Research tools were five-scale questionnaires. Statistics used in this research included percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient.

The findings of the study reveal the following 1) Good governance administration of school administrators under Yala Primary Educational Service Area, Office 3 was at the high level, both overall picture and each aspect. The aspect that received the highest mean score was participation principle, followed by ethics principle, responsibility principle, value for money principle, transparency principle and rule of law consecutively. 2) The school effectiveness under Yala Primary Educational Service Area, Office 3 was at the high level, both overall picture and each aspect. The aspect that received the highest mean score was the effectiveness on internal problem solving, followed by the effectiveness on the change and development in the school, enhancement of positive attitude in students, and producing high-achievement students consecutively. 3) The relationship between good governance administrators and school effectiveness under Yala Primary Educational Service Area, Office 3 was significantly and highly positive (r=.733) at the .01 level.

References

กนกทิพย์ ดอกลัดดา. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลสถานศึกษาของโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 6. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
กมลพรรณ พึ่งด้วง. (2560). การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). คู่มือการบริหารโรงเรียนในโครงการพัฒนาการบริหารรูปแบบนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
จารุวรรณ สุรินทร์. (2552). การใช้หลักธรรมมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่ม เครือข่ายวังสามหมอ 1 สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาอุดรธานีเขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
จุฑามาส นาคปฐม. (2559). การบริหารการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน เทศบาลอินทปัญญาวัดใหญ่อินทาราม เทศบาลเมืองชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณธิดา โกรทินธาคม. (2560). การใช้พลังอำนาจของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทศพร หงษาชาติ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลกับความผูกพันต่อองค์กร: กรณีศึกษาสถานศึกษาภาครัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.มหาวิทยาลัยบูรพา.
นัยหมะ สามะ. (2554). “Good Governance กับการบริหารในโรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ”
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ 3 ฉบับที่ 4: 9-10.
พรรณิภา ไชยศรี. (2563). การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ภาควัชร จันทร์กุล. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2556). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. พิมพ์ครั้งที่ 11.
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชกิจจานุเบกษา. (2542). ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542. เล่ม 116 ตอนที่ 63 ง, หน้า 26-27.
ราชกิจจานุเบกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. เล่ม 134
ตอนที่ 40 ก, หน้า 17.
วิวน ตะนะ. (2554). การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารโรงเรียนในอำเภอเชียงของจังหวัด
เชียงราย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3. (2564). แผนปฏิบัติการ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา. ยะลา: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3.
อุษารัตน์ ดาวลอย. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารด้วยหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Krejcie, R. And Morgan, D.W. (1970). “Determining Sample size for Research activities.” Educationalan Psychological Measurement. 30 (3), 608.
Mott, R. M. (1972). The character of effective organization. New York: Harper and Row.
Clarke, V. B. (2001). Unit Search of Good Governance : Decentralization and
Democracy in Ghana. Illinois : Northern Illinois University.

Downloads

Published

2021-12-20

How to Cite

ซียง อ., & ศิริสุข ก. (2021). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3. Al-HIKMAH Journal, 11(22), 127–140. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/253206

Issue

Section

Research Article